โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 ”
ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายหมัดรูดิน เจ๊ะโวะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2984-2-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2984-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พื้นที่ตำบลป่าบอนมีประชาชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 99 โดยมีบริบทเฉพาะที่แตกต่างจากพื้นที่ทั่วไปในด้านสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนความเชื่อทางศาสนา การทำพิธีกรรมต่างๆ และการทำพิธีเข้าสุหนัตหรือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายถือเป็นพิธีการหนึ่งทางศาสนา ที่ส่งเสริมให้เยาวชนมุสลิมเพศชายทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
การเข้าสุหนัต การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชาย ภาษาอาหรับเรียกว่า “คิตาน” ทางการแพทย์เรียกว่า “เซอร์คัมซัสซัน” หมายถึง การศัลยกรรมที่ทำการตัดหุ้มหลวมๆ อยู่ตอนปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชาย การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาความสะอาด หากหนังหุ้มปลายนั้นยังปกคลุมอยู่ส่วนวัตถุที่คล้ายเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมาโดยผิวหนังของบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์ที่เรียกว่า “เสกม่า” ก็จะหมักหมมอยู่ การเข้าสุหนัตเป็นการขจัดสิ่งนี้โดยวิธีที่ดีที่สุด อีกประการหนึ่งเพื่อป้องกันน้ำปัสสาวะค้างอยู่ซึ่งเป็นสิ่งสกปรกมีกลิ่น ยากแก่การทำความสะอาด การเข้าสุหนัตในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่า สุหนัตเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก แพทย์บางท่านเห็นว่าสมัยปัจจุบันในทางสุขวิทยาเจริญมากกว่าแต่ก่อนสมควรให้มีการเข้าสุหนัต และแนะนำให้เด็กที่เกิดมาทุกคนได้รับการเข้าสุหนัต โดยให้เหตุผลว่า”ในรายที่เด็กมีหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์แคบและตึงมากไม่สามารถจะดึงให้หุ้มได้หมด ในรายที่มีหนังหุ้มยาวเกินควร จนขังน้ำปัสสาวะซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคขึ้นได้ ถ้าชำระความสะอาดทำได้ไม่สะดวก ในรายที่หนังหุ้มปลายแคบมาก “ ไพโมซิส” ทำให้เจ็บปวดเมื่อแข็งตัว และปัสสาวะลำบากแก้ไขได้โดยการเข้าสุหนัต”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอน เพื่อลดภาวะเสี่ยง การติดเชื้อทางท่อปัสสาวะ
- เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุหนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) ลดภาวะแทรกซ้อน(การ
อักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
- เด็กและเยาวชนมุสลิมรวมทั้งผู้ปกครองเกิดความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและการ
ป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอน เพื่อลดภาวะเสี่ยง การติดเชื้อทางท่อปัสสาวะ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอน เพื่อลดภาวะเสี่ยง การติดเชื้อทางท่อปัสสาวะ (2) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2984-2-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายหมัดรูดิน เจ๊ะโวะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 ”
ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายหมัดรูดิน เจ๊ะโวะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2984-2-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2984-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พื้นที่ตำบลป่าบอนมีประชาชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 99 โดยมีบริบทเฉพาะที่แตกต่างจากพื้นที่ทั่วไปในด้านสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนความเชื่อทางศาสนา การทำพิธีกรรมต่างๆ และการทำพิธีเข้าสุหนัตหรือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายถือเป็นพิธีการหนึ่งทางศาสนา ที่ส่งเสริมให้เยาวชนมุสลิมเพศชายทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
การเข้าสุหนัต การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชาย ภาษาอาหรับเรียกว่า “คิตาน” ทางการแพทย์เรียกว่า “เซอร์คัมซัสซัน” หมายถึง การศัลยกรรมที่ทำการตัดหุ้มหลวมๆ อยู่ตอนปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชาย การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาความสะอาด หากหนังหุ้มปลายนั้นยังปกคลุมอยู่ส่วนวัตถุที่คล้ายเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมาโดยผิวหนังของบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์ที่เรียกว่า “เสกม่า” ก็จะหมักหมมอยู่ การเข้าสุหนัตเป็นการขจัดสิ่งนี้โดยวิธีที่ดีที่สุด อีกประการหนึ่งเพื่อป้องกันน้ำปัสสาวะค้างอยู่ซึ่งเป็นสิ่งสกปรกมีกลิ่น ยากแก่การทำความสะอาด การเข้าสุหนัตในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่า สุหนัตเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก แพทย์บางท่านเห็นว่าสมัยปัจจุบันในทางสุขวิทยาเจริญมากกว่าแต่ก่อนสมควรให้มีการเข้าสุหนัต และแนะนำให้เด็กที่เกิดมาทุกคนได้รับการเข้าสุหนัต โดยให้เหตุผลว่า”ในรายที่เด็กมีหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์แคบและตึงมากไม่สามารถจะดึงให้หุ้มได้หมด ในรายที่มีหนังหุ้มยาวเกินควร จนขังน้ำปัสสาวะซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคขึ้นได้ ถ้าชำระความสะอาดทำได้ไม่สะดวก ในรายที่หนังหุ้มปลายแคบมาก “ ไพโมซิส” ทำให้เจ็บปวดเมื่อแข็งตัว และปัสสาวะลำบากแก้ไขได้โดยการเข้าสุหนัต”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอน เพื่อลดภาวะเสี่ยง การติดเชื้อทางท่อปัสสาวะ
- เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุหนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) ลดภาวะแทรกซ้อน(การ
อักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
- เด็กและเยาวชนมุสลิมรวมทั้งผู้ปกครองเกิดความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและการ ป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอน เพื่อลดภาวะเสี่ยง การติดเชื้อทางท่อปัสสาวะ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอน เพื่อลดภาวะเสี่ยง การติดเชื้อทางท่อปัสสาวะ (2) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลป่าบอนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2984-2-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายหมัดรูดิน เจ๊ะโวะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......