โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีด้วยภูมิปัญญาไทย
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีด้วยภูมิปัญญาไทย |
รหัสโครงการ | L5294 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรทักษอร |
วันที่อนุมัติ | 25 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 19,780.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | 1.นางสาววิริญญา จ่าวิสูตร (083-6585659) 2.นางนัสรีน วราคนางค์ 3.นางอารีย์ วราคนางค์ 4.นางสาววรรณา หยงสตาร์ 5.นางสาววิลาวัณย์ เจ๊ะสา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านท่าศิลา ม.5 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันนี้พบว่าสถานการณ์โรคในวัยผู้ใหญ่โดยเฉพาะสตรี มีทั้งโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตและโรคร้ายแรงเช่น โรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม เป็นต้น ซึ่งโรคเหล่านี้ก็เกิดจากหลายปัจจัย บางปัจจัยก็ผลสืบเนื่องมาจากอาหารการกินและพฤติกรรม การใช้ชีวิตด้วย เช่นการทานอาหารไขมันสูง การทานอาหารรสจัด การทานของเย็นระหว่างมีประจำเดือน การไม่อยู่ไฟหลังคลอด ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและลดปัจจัยความเสี่ยงที่จะนำไปสู่โรคไม่พึงประสงค์เหล่านี้ จึงอยากรณรงค์ให้สตรีทั้งวัยมีประจำเดือน วัยหมดประจำเดือน ผู้เคยคลอดบุตร เห็นความสำคัญของการอยู่ไฟหลังคลอด และการดูแลตัวเองในช่วงวัยมีประจำเดือนอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้มีเลือดประจำเดือนตกค้าง และ สะสมกลายเป็นโรคต่างๆ หรือนำไปสู่ภาวะอาการไม่พึงประสงค์ต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขทั้งกายและใจจนถึงบั้นปลายชีวิต รวมถึงส่งเสริมการนำเอาสมุนไพรไทยมาใช้ดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพสตรีหลังการคลอดบุตร หรือผู้ผ่านการมี บุตร ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจความสำคัญของการดูแลสุขภาพของสตรีหลังคลอดบุตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | 2.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพสตรีในช่วงวัยต่างๆอย่างเหมาะสม ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพสตรีในช่วงวัยต่างๆอย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,780.00 | 0 | 0.00 | |
??/??/???? | กิจกรรมย่อย 1.1 กิจกรรม ทับหม้อเกลือ | 0 | 2,080.00 | - | ||
??/??/???? | กิจกรรมย่อย 1.2.กิจกรรม นั่งถ่าน | 0 | 1,800.00 | - | ||
??/??/???? | กิจกรรมย่อย 1.3 กิจกรรม นวดประคบ 1.4 กิจกรรม เข้ากระโจม สมุนไพร | 0 | 1,600.00 | - | ||
15 เม.ย. 68 - 15 ก.ค. 68 | กิจกรรมส่ง เสริมการดูแล สุขภาพสตรี หลังการ คลอดบุตร หรือผู้ผ่านการ มีบุตร และ สตรีใน ระหว่างมี ประจำเดือน | 0 | 14,300.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2568 00:00 น.