กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮูดา สารี




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2986-01-03 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2986-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็งทุกชนิด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ในปัจจุบันประเทศไทยให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้นเนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้น จากรายงานสถิติสุขภาพทั่วโลกขององค์การอนามัยโลก พบว่า ๑ ใน ๑0 ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน และ 1 ใน 3 มีภาวะความดันโลหิตสูง การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชาชนตาม  กลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุ เป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างหลักสุขภาพถ้วนหน้าที่มุ่งเน้นให้ประชาชน  ทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ  สำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอายุต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มวัยทำงาน และวัยสูงอายุ เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิเช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี่  การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะเครียด ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชน เพื่อป้องกันและควบคุมกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเหล่านี้ โดยการตรวจค้นหา คัดกรองสุขภาพของประชาชน และการควบคุมปัจจัยเสี่ยงจากการเกิดของโรคเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่ตระหนักถึงการดูแลและตรวจสุขภาพ เพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรค ทั้งนี้การดำเนินการคัดกรอง ติดตามกลุ่มเสี่ยง    เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน จำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ เช่น เครื่องวัดความดันโลหิตสูง เครื่องตรวจเบาหวาน เครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เป็นต้น เพื่ออำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และแกนนำอสม. ในการดำเนินงาน จากผลการคัดกรองสุขภาพของประชาชนตำบลตะโละแมะนา พบว่า ปี ๒๕๖5 มีประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 867 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.75 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 83 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.57 กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 29 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.34 ในปี 2566 คัดกรอง 810 คน คิดเป็นร้อยละ 92.78 ราย พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 165 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.30 สงสัยป่วย จำนวน 97 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.97 และในปี 2567 คัดกรอง 771 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.81 พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 193 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.03 กลุ่มสงสัยป่วย 92 คน คิดเป็นร้อยละ 11.93 จะเห็นได้ว่าปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา จึงได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาของโรคเรื้อรังดังกล่าว และต้องดำเนินการติดตามกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองในการวัดความดันโลหิตที่บ้านเป็นเวลา 7 วัน เพื่อหาค่าความดันเฉลี่ย และได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อตามกระบวนการที่ถูกต้องและเหมาะสม ทั้งนี้ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนายังขาดแคลนอุปกรณ์ในการคัดกรองสุขภาพ ติดตามของประชาชนในพื้นที่ตำบล      ตะโละแมะนา ทำให้การดำเนินงานคัดกรอง ติดตาม รักษา ส่งต่อล่าช้า จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) เพื่อตอบสนองความต้องการ และอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และประชาชนได้รับการคัดกรอง ติดตามที่รวดเร็ว ส่งผลให้ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการรักษาได้เร็วและทันเวลา ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราตายด้วยโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
  2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามและการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม
  3. เพื่อให้ อสม. ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการวัดโรคความดันโลหิตที่ถูกต้อง
  2. วัดความดันโลหิตที่บ้าน (Home BP) ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน
  3. อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการวัดโรคความดันโลหิตที่ถูกต้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีเครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิทัล ในการดูแลเฝ้าระวังกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงอย่างเพียงพอ
  2. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงตำบลตะโละแมะนา ได้รับการเฝ้าระวังตรวจวัดความดันโลหิต  ที่บ้าน
  3. สามารถลดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
  4. กลุ่ม อสม. ผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะเกี่ยวกับการวัดความดันโลหิต  ที่ถูกต้อง และสามารถให้คำแนะนำคนในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามและการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
100.00

 

3 เพื่อให้ อสม. ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (2) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามและการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อให้ อสม. ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการวัดโรคความดันโลหิตที่ถูกต้อง (2) วัดความดันโลหิตที่บ้าน (Home BP)  ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 100 คน (3) อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการวัดโรคความดันโลหิตที่ถูกต้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย (Home BP) ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2986-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรฮูดา สารี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด