กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขยับกายดี ชีวาเบิกบาน ภายใต้วิถีพอเพียง (ชราบานโมเดล) ตำบลตะโละแมะนา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเสาะ สาแม




ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขยับกายดี ชีวาเบิกบาน ภายใต้วิถีพอเพียง (ชราบานโมเดล) ตำบลตะโละแมะนา ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2986-02-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขยับกายดี ชีวาเบิกบาน ภายใต้วิถีพอเพียง (ชราบานโมเดล) ตำบลตะโละแมะนา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขยับกายดี ชีวาเบิกบาน ภายใต้วิถีพอเพียง (ชราบานโมเดล) ตำบลตะโละแมะนา ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขยับกายดี ชีวาเบิกบาน ภายใต้วิถีพอเพียง (ชราบานโมเดล) ตำบลตะโละแมะนา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2986-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมสูงวัย’ คือ สังคมที่มีสัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่สัดส่วนของอัตราการเกิด และจำนวนประชากรในวัยทำงานลดน้อยลง. และเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสูงสุด ดังนั้น สำหรับประเทศเราเอง ก็กำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเช่นกัน โดยมีประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปร้อยละ 10 หรือมากกว่า 7 ล้านคนแล้ว ซึ่งน่าจะตามมาด้วยปัญหาสุขภาพและโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม ความจริงแล้วคนส่วนใหญ่ในสังคมยังเข้าใจว่า การรับมือกับเรื่องนี้กลับเป็นเพียงการจัดการกับเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งสุขภาพร่างกาย และจิตใจ การเจ็บป่วยที่เรื้อรังยาวนานจะส่งผลต่อภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โดยรวม มี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม  การดำรงชีวิตประจำวันที่แตกต่างกัน  ความพิการและการเสียชีวิตก่อนวัย อันควร ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย ครอบครัว ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ อีกทั้งยังก่อให้เกิดความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ   จังหวัดปัตตานีให้ความสำคัญกลุ่มวัยผู้สูงอายุระยะยาว จึงมีโครงการ ชราบานโมเดล ในปี พ.ศ.2567 ให้ความสำคัญในเรื่อง ของการป้องกันภาวะสมองเสื่อม และในปี พ.ศ.2568 ให้ความสำคัญในเรื่องของการเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ และการดูแลอนามัยช่องปาก โดยใช้สัญลักษณ์ ของดอกชบา แทนการทำงานร่วมกันกับภาคีเครือข่าย ให้สามารถ ดูแลผู้สู่อายุแบบไร้รอยต่อ ภายใต้ สโลแกน “สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ จากไปอย่างมีความสุข” จากการสำรวจจำนวนผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา ปีพ.ศ.2567-2568 ย้อนหลัง 2 ปีเนื่องจากเพิ่งมีการเก็บข้อมูล พบว่า ผู้สูงอายุ จำนวน 296 คนทั้ง 2 ปี กลุ่มปกติ จำนวน 139 , 144 ราย ร้อยละ 46.95 , 48.64 ตามลำดับ กลุ่มป่วย 60,80 รายร้อยละ 20.27,27.02 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยง 3 อันดับ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงด้านการมองเห็น จำนวน 29 ,26 ราย  ร้อยละ 36.25 36.11 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหวจำนวน 14,11 ราย ร้อยละ 17.5, 15.27  ตามลำดับ ปัญหาอนามัยช่องปาก จำนวน 14,12 ราย ร้อยละ 17.5 16.66  ตามลำดับ ด้านการคิดจำ จำนวน 5,3 ราย ร้อยละ 6.25 4.16 ตามลำดับ รวมถึงผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิง จำนวน11, 11 ราย ตามลำดับ การดูแลเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพดังกล่าว  จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการส่งเสริมดูแลเฝ้าระวังดูแลเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตมากขึ้นไม่ป่วยติดบ้านติดเตียง ชมรมผู้สูงอายุตระหนักเห็นถึงความสำคัญของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเพื่อเป็นการแก้ปัญหาในระยาวที่จะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สุขภาพจิต และจิตวิญญาณ ร่วมกับการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันกับผู้สูงอายุ ของลูกหลาน จึงมีการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุวิถีพอเพียง สุขกาย สบายชีวา ในปีงบประมาณ 2568  ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวและเพื่อให้กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุตำบลตะโละแมะนาเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหว ได้รับการประเมินซ้ำและส่งต่ออย่างเหมาะสม
  2. 2.เพื่อให้สมาชิกที่มีภาวะเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามแบบวิถีพอเพียงแพทย์แผนไทย
  3. 3. เพื่อให้ อสม.ผู้ดูแล มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและป่วย ได้เองที่บ้าน
  4. 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองได้ที่บ้าน
  5. 5. เพื่อสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มภายใต้วิถีพอเพียง ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุทราบสถานะความเสี่ยงต่อภาวะเข่าเสื่อมและมีความรู้ในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
  2. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินซ้ำและส่งต่อรักษาด้านภาวะเข่าเสื่อม โดยแพทย์แผนไทย
  3. อสม.ผู้ดูแล และผู้สูงอายุ มีความรู้ในการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเหมาะสมได้ที่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหว ได้รับการประเมินซ้ำและส่งต่ออย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 2.เพื่อให้สมาชิกที่มีภาวะเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามแบบวิถีพอเพียงแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
100.00

 

3 3. เพื่อให้ อสม.ผู้ดูแล มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและป่วย ได้เองที่บ้าน
ตัวชี้วัด :
100.00

 

4 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองได้ที่บ้าน
ตัวชี้วัด :
100.00

 

5 5. เพื่อสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหว ได้รับการประเมินซ้ำและส่งต่ออย่างเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้สมาชิกที่มีภาวะเสี่ยงด้านการเคลื่อนไหวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามแบบวิถีพอเพียงแพทย์แผนไทย (3) 3. เพื่อให้ อสม.ผู้ดูแล มีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและป่วย ได้เองที่บ้าน (4) 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองได้ที่บ้าน (5) 5. เพื่อสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มภายใต้วิถีพอเพียง  ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขยับกายดี ชีวาเบิกบาน ภายใต้วิถีพอเพียง (ชราบานโมเดล) ตำบลตะโละแมะนา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2986-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจ๊ะเสาะ สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด