โครงการส่งเสริมการบริโภคผักและสมุนไพรต้านโรค หมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่ง
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการบริโภคผักและสมุนไพรต้านโรค หมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่ง |
รหัสโครงการ | 68-L3310-2-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. หมู่ที่ 8 ต.เขาชัยสน |
วันที่อนุมัติ | 28 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 9,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสุภาวดี หมาดเส็น |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.442766199,100.1320688place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจประการในกลุ่มวัยทำงานในหมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่ง มีครัวเรือน จำนวน 337 ครัวเรือน แต่พบว่าการบริโภคผักและการปลูกผักกินเองในแต่ละครัวเรือนร้อยละ 28 ทั้งๆที่แต่ละครอบตรัวมีที่ดินเพียงพอสำหรับการปลูกพืชผักสวนครัว บางครัวเรือนยังซื้ออาหารสำเร็จรูป หรือซื้อแกงถุงมารับประทาน ซื้อผักจากตลาดมารับประทาน ทำให้การรับประทานผักที่ซื้อมาจากต่างถิ่นและเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในพืชผักส่งผลให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพอันเนื่องจากสารเคมีตกค้างในเลือดในเลือด จึงทำให้ประชากรบริโภคได้น้อยลง
หมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่ง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการบริโภคผักและสมุนไพรต้านโรค หมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่ง เพื่อส่งเสริมการบริโภคผักที่ปลอดสารเคมีและเป็นสมุนไพร ในการสร้างภูมิต้านทานโรคต่างๆ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารเคมี และสมุนไพรต้านโรค ร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ ปลูกผักและบริโภคผักและสมุนไพรต้านโรค |
100.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมการปลูกผักและสมุนไพรต้านโรค ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการปลูกผักและสมุนไพรต้านโรคอย่างน้อย 5 ชนิด |
100.00 | |
3 | เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการกินผักสมุนไพรปลอดสารเคมีในชุมชน โดยแกนนำที่ผ่านการอบรม มีการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนหรือซื้อขายกันในชุมชน
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกและบริโภคสมุนไพรต้านโรค 100 %
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้การบริโภคผักต้านโรค
- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันลดลง
- ลดรายจ่ายเพิ่มรายรับจากการขายผักสมุนไพร
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2568 14:54 น.