กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ”
ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางกฤติกา แสนแปง




ชื่อโครงการ พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3348-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3348-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (สวรส.) ได้สนับสนุนการวิจัยในโครงการพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย ซึ่งมีการเก็บข้อมูลเพื่อหาค่าเกณฑ์มาตรฐานการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัย ที่สุ่มตัวอย่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั่วทุกภาคของประเทศไทย.พบว่า เด็กไทยวัย 2 - 6 ปี มีคะแนนพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร โดยรวมล่าช้ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยเล็กน้อยไปจนถึงล่าช้ามาก.ประมาณเกือบ 30% และในระยะยาวอาจ ส่งผลเสียต่อการเรียน การทำงาน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น ยิ่งไปกว่านั้นพฤติกรรมการคิดเชิงบริหารมีความเกี่ยวข้องกับโรคทางจิตเวช เช่น โรคซน,สมาธิสั้น,ย้ำคิดย้ำทำ, ซึมเศร้า, ประพฤติผิดปกติ-เกเรอันธพาล เป็นต้น นโยบายของกระทรวงมหาดไทยในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่แข็งแรง. และจิตใจ.อารมณ์มีความ. เบิกบาน, มีความกล้าหาญ มีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา รู้จักแพ้รู้จักชนะ เคารพกฎ ระเบียบ กติกาด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike. เพราะช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ให้แข็งแรง.เป็นการฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การแยกแยะสีการประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง และการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กปฐมวัยและเด็กประถมศึกษาตอนต้น เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป ดังนั้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย ส่งผลต่อพัฒนาการเรียนรู้ที่ดี. และเติบโตเป็นพลเมืองคุณภาพ. เป็นกำลังในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป โรงเรียนเทศบาลตำบลลานข่อย(ห้วยศรีเกษร) จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาทักษะสมองEFด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยและเด็กประถมศึกษาตอนต้นทุกคน มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง. ส่งเสริมสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและมีอารมณ์แจ่มใสตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจและด้านสติปัญญา
  2. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัยและปลูกฝังความมีน้ำใจนักกีฬา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กปฐมวัยในตำบลลานข่อย มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจและด้านสติปัญญา
2.เด็กปฐมวัยในตำบลลานข่อย ได้ออกกำลังกายและมีร่างกายแข็งแรง มีอารมณ์เบิกบาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจและด้านสติปัญญา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจและด้านสติปัญญา ที่สมวัย

 

2 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัยและปลูกฝังความมีน้ำใจนักกีฬา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยได้ออกกำลังกายและมีสุขภาพที่แข็งแรงเติบโสมวัย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านอารมณ์จิตใจและด้านสติปัญญา (2) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัยและปลูกฝังความมีน้ำใจนักกีฬา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3348-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกฤติกา แสนแปง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด