กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2568 ”
ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรวรรณ คงแก้ว นักวิชาการสาธารณสุข




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5264-1-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5264-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,130.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็งทุกชนิด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ในปัจจุบันประเทศไทยให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้องของประชาชน ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้น จากรายงานประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากถึง 14 ล้านคน จากระบบรายงานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข ภาพรวมของประเทศ ปี 2566(ข้อมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566) พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 7 ล้านคน และผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ มีจำนวนมากถึง 2.8 ล้านคนการควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เนื่องจากโรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมได้ด้วยการใช้ยาลดความดันโลหิตร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนั้น การค้นหา และการตรวจสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพถ้วนหน้าที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพโดยถือว่าสุขภาพเป็นเรื่องของประชาชนทุกคน สำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอายุต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มวัยทำงาน และวัยสูงอายุ เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะความเครียด ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชนเพื่อป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เหล่านี้โดยการตรวจค้นหา คัดกรองสุขภาพของประชาชน และการควบคุมปัจจัยเสี่ยงจากการเกิดของโรคเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่ตระหนักถึงการดูแล และตรวจสุขภาพเพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรคนอกจากนี้ ในปี 2568 กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศปี 68ปีแห่งการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีการขับเคลื่อนนโยบาย “ คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ” เนื่องจากโรค NCDs เป็นปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาวโดยมุ่งเป้าในการลดจำนวนผู้ป่วยจากโรคโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไตเรื้อรัง และลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ ลดบริโภคเกลือและโซเดียม เนื่องจากโซเดียมจะดึงน้ำและของเหลวในระบบไหลเวียนโลหิต ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง หัวใจ ไต และหลอดเลือด ทำงานหนักมากขึ้นส่งเสริมการออกกำลังกาย ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงการเสียชีวิตจากโรค NCDs ได้ 20 – 30% โดยข้อมูลของ WHO ปี 2567 พบว่า สามารถลดโอกาสเกิดโรคหัวใจ 30% โรคเบาหวาน 27% มะเร็งเต้านมและลำไส้ใหญ่ 21 – 25%เพิ่มโปรตีน เพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อ โดยควรได้รับโปรตีน 1 – 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เน้นโปรตีนจากธรรมชาติ เช่น ปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่วเมล็ดแห้ง/ผลิตภัณฑ์ น้ำนม และควรเป็นโปรตีนจากเนื้อสัตว์เป็นหลัก เพราะมีคุณภาพดีและมีกรดอะมิโนจำเป็นครบถ้วนมากกว่าโปรตีนจากพืชและเพิ่มไขมันดี เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง สมดุล โดยไขมันดีจะช่วยขจัดคอเลสเตอรอลหรือไขมันเลว (LDL) ที่เกาะอยู่ตามผนังหลอดเลือด และช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ แหล่งไขมันดี เช่น ปลาทะเลน้ำลึก อะโวคาโด้ หอมหัวใหญ่ ไข่ไก่ ถั่วเหลือง ดาร์กช็อกโกแลต น้ำมันมะกอกบริสุทธิ์ เป็นต้นนอกจากนี้ มีการขยายการจัดตั้งคลินิก NCDs รักษาหายในทุกโรงพยาบาล ศูนย์ป้องกันโรคไม่ติดต่อทุกอำเภอและศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ทุกตำบล เพื่อสร้างระบบบริการด้านสุขภาพ โดย จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ส่งเสริมความร่วมมือสหสาขาวิชาชีพ โดยพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และร่วมมือกับสหสาขาวิชาชีพในการดำเนินงาน และใช้กลไกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการเพิ่มทักษะความรู้เพื่อเป็นแกนนำถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการกินแบบ “นับคาร์บ” หรือคาร์โบไฮเดรตที่มาจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล และ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงเข้าศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs โดยการคัดกรองสุขภาพประชาชน ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงและติดตามผล จากข้อมูล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร้าว หมู่ที่ ๓ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร พบว่าในพื้นที่ตำบลทำนบ มีประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไป จำนวน 1,879 คน โดย เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ( NCD )จำนวน 621 คน และกลุ่มเสี่ยง จำนวน 1,409 คนจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 สลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนครจังหวัดสงขลาปี 2568เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม.) ในการสื่อสารให้ความรู้ประชาชนด้วยการนับคาร์บหรือคาร์โบไฮเดรตที่มาจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล และ ร่วมกันคัดกรองสุขภาพประชาชน ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปและเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวรวมทั้งการตรวจคัดกรองสุขภาพของตนเองจนสามารถนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ของตนเองและคนในครอบครัวส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
  2. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) จากกลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs
  3. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนับคาร์บ และการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านพร้าว ต.ทำนบ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  3. จัดทำโครงการเสนอ และขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทำนบ
  4. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
  5. กิจกรรมที่ ๑ ให้ความรู้ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป พร้อมตรวจคัดกรองตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยมีกลุ่มเสี่ยงในตำบลทำนบ
  6. กิจกรรมที่ ๒ ให้ความรู้ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส การรับคาร์บ ตนเองและบันทึกผลสำหรับผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน / หมู่บ้าน
  7. สรุป จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) และส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยด้วยไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เข้าสู่ระบบส่งต่อของ รพ.สิงหนคร
  8. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. มีอุปกรณ์ในการคัดกรอง และการดูแลเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) อย่างเพียงพอ ๒. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลทำนบ ที่เป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) สามารถปฏิบัติตนและดูแลตนเองรวมทั้งคนในครอบครัว และได้รับตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง ต่อเนื่อง ๓. สามารถลดผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)รายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
ตัวชี้วัด : มีอุปกรณ์ในการคัดกรอง และการดูแลเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) อย่างเพียงพอ
75.00 80.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) จากกลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs
ตัวชี้วัด : สามารถลดผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)รายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
75.00 80.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนับคาร์บ และการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงตำบลทำนบ ที่เป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) สามารถปฏิบัติตนและดูแลตนเองรวมทั้งคนในครอบครัว และได้รับตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง ต่อเนื่อง
75.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)  จากกลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs (3) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนับคาร์บ และการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านพร้าว ต.ทำนบ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย  และชี้แจงวัตถุประสงค์ (2) สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่  โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (3) จัดทำโครงการเสนอ และขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทำนบ (4) ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) (5) กิจกรรมที่ ๑  ให้ความรู้ ประชาชนอายุ  ๓๕  ปีขึ้นไป  พร้อมตรวจคัดกรองตรวจคัดกรองไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)  ในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยมีกลุ่มเสี่ยงในตำบลทำนบ (6) กิจกรรมที่ ๒  ให้ความรู้ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส  การรับคาร์บ ตนเองและบันทึกผลสำหรับผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน / หมู่บ้าน (7) สรุป  จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)  และส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยด้วยไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)  เข้าสู่ระบบส่งต่อของ รพ.สิงหนคร (8) ติดตาม  และประเมินผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรคเรื้อรัง ลดโรคNCD ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5264-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรวรรณ คงแก้ว นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด