กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๘ ”
ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสงกรานต์ พรหมบัณฑิต นักวิชาการสาธารณสุข




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๘

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5264-1-08 เลขที่ข้อตกลง 08/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๘ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๘



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5264-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลายเป็นโรคที่มียุงลายเป็นพาหะของโรคโดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกนับวันจะมีความรุนแรงและมีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งถือว่าเป็นโรคระบาดที่อันตราย โดยนิสัยของยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวัน ตั้งแต่เช้าตรู่จนถึงพลบค่ำ ดังนั้นการแพร่กระจายของเชื้อโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะมักจะเกิดขึ้นได้ทั้งทั้งในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ศาสนสถาน หน่วยงานราชการและเอกชนโรงงานสวนสาธารณะ ซึ่งโรคไข้เลือดออก มียุงลายเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญและมักจะระบาดในช่วงหน้าฝน แต่นปัจจุบันระบาดได้ในทุกเดือน ของทุกปีในอดีตโรคไข้เลือดออกมักจะเป็นเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยเรียนในช่วงอายุ 5 - 14 ปี ซึ่งเป็นวัยกำลังศึกษาในสถานศึกษา ทั้งในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แต่ในปัจจุบันพบได้ทุกกลุ่มอายุ โรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราตาย การป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติซึ่งตามแนวทางการควบคุมโรค เหตุรำคาญและภัยสุขภาพตาม พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.25๓7 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๗พ.ศ.๒๕๕๒มาตรา 67 (3) บัญญัติให้ องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 16 (6) และ (39) บัญญัติให้เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมการฝึก และประกอบอาชีพ การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ซึ่งในปี 2567 พื้นที่ตำบลทำนบ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก เป็นจำนวน 19 ราย อัตราป่วย 291.99 ต่อประชากรแสนคนและพบผู้ป่วยไข้เลือดออกที่เสียชีวิตจำนวน 0 ราย อัตราป่วยตายเท่ากับ 0 จะเห็นได้ว่าลดลงจากปี 2566แต่จะต้องมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ถึงจะทำให้อัตราการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและการกระจายตัวของกลุ่มผู้ป่วยมีจำนวนน้อยลงทำให้ง่ายแก่การควบคุมซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะมีประสิทธิภาพต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่ ประชาชน ผู้นำชุมชน กลุ่ม อสม. และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการให้ความร่วมมือป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย โดยการควบคุมทางกายภาพ เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการควบคุมทางเคมีเช่นการใส่ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลายเป็นต้น จากสถานการณ์ดังกล่าวช้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร้าว ตำบลทำนบ เล็งเห็นถึงความสำคัญและอันตรายจากโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลายจึงจัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลาปี ๒๕๖๘เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดจากโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลายของประชาชน ในตำบลทำนบขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชนใน พื้นที่ตำบลทำนบ
  2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้อย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน
  2. ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินงาน
  3. กิจกรรมที่ ๑ ส่งเสริมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและโรงเรียน
  4. กิจกรรมที่ ๒ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก
  5. ขั้นที่ 3 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก ๒. ประชาชนมีภูมิความรู้และความเข้าใน ในเรื่องของโรคไข้เลือดออก ๓. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ๔. ประชาชนในพื้นที่เกินพฤติกรรมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชนใน พื้นที่ตำบลทำนบ
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก
80.00 85.00

 

2 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
80.00 85.00

 

3 เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้อย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เกินพฤติกรรมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
80.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชนใน พื้นที่ตำบลทำนบ (2) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้อย่างทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน (2) ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินงาน (3) กิจกรรมที่ ๑  ส่งเสริมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและโรงเรียน (4) กิจกรรมที่ ๒  ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก (5) ขั้นที่ 3  สรุปผลการดำเนินโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุกในสถานศึกษาและชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๘ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5264-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสงกรานต์ พรหมบัณฑิต นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด