โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 ”
ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
พท.ยงค์ศักดิ์ สิงห์แก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-02-15 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1526-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การแพทย์แผนไทย ( Thai traditionalmedicine ) เป็นภูมิปัญญาไทยในการดูแลรักษาสุขภาพมาเป็นระยะเวลานาน เป็นระบบการแพทย์ที่เกิดจากการเรียนรู้การสั่งสมความรู้ ประสบการณ์การถ่ายทอด และการผสมผสานกับการแพทย์ท้องถิ่นและระบบการแพทย์อื่นที่เข้ามาสู่สังคมไทย ในสมัยต่าง ๆ จนกลายมาเป็นระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยเน้นความสมดุลของธาตุภายในร่างกายและความสมดุลภายในจิตใจ
จากพระราชดำรัสในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงในด้านความพอดีพอควรสมเหตุสมผลและมีความสมดุลเพื่อความสุขและสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วยควรได้รับการรักษาอย่างสมเหตุสมผลมีภูมิคุ้มกันพึ่งพิงดูแลตัวเองและคนในครอบครัวได้ยั่งยืน การส่งเสริมสนับสนุนให้ลูกหลานในครัวเรือนได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยโดยใช้การแพทย์แผนไทยหรือใช้ภูมิปัญญา เช่นการใช้อาหารพืชผักผักสมุนไพร การนวดพื้นฐาน มาปฏิบัติดูแลสุขภาพคนในครัวเรือนก็จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทำให้ครอบครัวมีทางเลือกเพิ่มขึ้น ลดปัญหาการใช้ยาแผนปัจจุบัน รวมถึงการเป็นแผลกดทับเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่นอนเตียงนาน เช่น ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตจากโรคหลอดเลือด ผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ต้องใช้เครื่องดึงกระดูกหรือเข้าเฝือกเป็นระยะเวลานานๆโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย เป็นต้น ซึ่งเมื่อผู้ป่วยนอนอยู่กับที่นานๆไม่มีการเคลื่อนไหวทำให้การไหลเวียนเลือดลดลง จึงต้องใช้หมอนหลอดเพื่อลดการเป็นแผลกดทับ สามารถยืดระยะเวลาการพลิกตัวจาก 2 ชั่วโมง เป็น 2 ชั่วโมงครึ่ง และยังต่อยอดใส่สมุนไพรเพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูกฯลฯ
ชมรมผู้สูงอายุตำบลเขากอบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรมหมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568 เพื่อฝึกทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียง เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ข้อที่ 2. เพื่อนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้นข้อที่ 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงข้อที่ 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568
- 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. กลุ่มเป้าหมายสามารถนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้น
3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียง
4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ข้อที่ 2. เพื่อนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้นข้อที่ 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงข้อที่ 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80
2. ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพ ร้อยละ 80
3. กลุ่มผู้ป่วยติดเตียงได้รับหมอนหลอด ร้อยละ 50
4. ผู้สูงอายุมีนอนหลับดีขึ้น ร้อยละ 60
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ข้อที่ 2. เพื่อนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้นข้อที่ 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงข้อที่ 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568 (2) 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-02-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( พท.ยงค์ศักดิ์ สิงห์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 ”
ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
พท.ยงค์ศักดิ์ สิงห์แก้ว
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-02-15 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1526-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การแพทย์แผนไทย ( Thai traditionalmedicine ) เป็นภูมิปัญญาไทยในการดูแลรักษาสุขภาพมาเป็นระยะเวลานาน เป็นระบบการแพทย์ที่เกิดจากการเรียนรู้การสั่งสมความรู้ ประสบการณ์การถ่ายทอด และการผสมผสานกับการแพทย์ท้องถิ่นและระบบการแพทย์อื่นที่เข้ามาสู่สังคมไทย ในสมัยต่าง ๆ จนกลายมาเป็นระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยเน้นความสมดุลของธาตุภายในร่างกายและความสมดุลภายในจิตใจ จากพระราชดำรัสในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงในด้านความพอดีพอควรสมเหตุสมผลและมีความสมดุลเพื่อความสุขและสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วยควรได้รับการรักษาอย่างสมเหตุสมผลมีภูมิคุ้มกันพึ่งพิงดูแลตัวเองและคนในครอบครัวได้ยั่งยืน การส่งเสริมสนับสนุนให้ลูกหลานในครัวเรือนได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยโดยใช้การแพทย์แผนไทยหรือใช้ภูมิปัญญา เช่นการใช้อาหารพืชผักผักสมุนไพร การนวดพื้นฐาน มาปฏิบัติดูแลสุขภาพคนในครัวเรือนก็จะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทำให้ครอบครัวมีทางเลือกเพิ่มขึ้น ลดปัญหาการใช้ยาแผนปัจจุบัน รวมถึงการเป็นแผลกดทับเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่นอนเตียงนาน เช่น ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตจากโรคหลอดเลือด ผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ต้องใช้เครื่องดึงกระดูกหรือเข้าเฝือกเป็นระยะเวลานานๆโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย เป็นต้น ซึ่งเมื่อผู้ป่วยนอนอยู่กับที่นานๆไม่มีการเคลื่อนไหวทำให้การไหลเวียนเลือดลดลง จึงต้องใช้หมอนหลอดเพื่อลดการเป็นแผลกดทับ สามารถยืดระยะเวลาการพลิกตัวจาก 2 ชั่วโมง เป็น 2 ชั่วโมงครึ่ง และยังต่อยอดใส่สมุนไพรเพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูกฯลฯ ชมรมผู้สูงอายุตำบลเขากอบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรมหมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568 เพื่อฝึกทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียง เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ข้อที่ 2. เพื่อนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้นข้อที่ 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงข้อที่ 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568
- 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 2. กลุ่มเป้าหมายสามารถนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้น 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียง 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ข้อที่ 2. เพื่อนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้นข้อที่ 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงข้อที่ 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 2. ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพ ร้อยละ 80 3. กลุ่มผู้ป่วยติดเตียงได้รับหมอนหลอด ร้อยละ 50 4. ผู้สูงอายุมีนอนหลับดีขึ้น ร้อยละ 60 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ข้อที่ 2. เพื่อนำทักษะที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา เป็นต้นข้อที่ 3. เพื่อบรรเทาอาการการเป็นแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงข้อที่ 4. เพื่อช่วยเพื่อแก้ปวดหัว บรรเทาไมเกรน แก้นอนไม่หลับ เครียด คัดจมูก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568 (2) 1. โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร “Herbal Straw Pillow”ประจำปี 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และจัดทำนวัตกรรม หมอนหลอดพลาสติกกลิ่นสมุนไพร Herbal Straw Pillw ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-02-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( พท.ยงค์ศักดิ์ สิงห์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......