โครงการชุมชนหน้าป่า รู้ค่า ห่างไกลโรคเรื้อรัง
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนหน้าป่า รู้ค่า ห่างไกลโรคเรื้อรัง |
รหัสโครงการ | 68-L3346-2-27 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 |
วันที่อนุมัติ | 24 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางกลอยใจ รัตนโกศัย/ประธาน อสม. หมู่ที่ 8 บ้านหน้าป่า |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 เม.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 13,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 13,500.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย ในชุมชนบัานหน้าป่า หมู่ที่ 8 ตำบนบ้านพร้าว ถือว่าเป็นปัญหาหนึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน และอัตราการเกิดโรคเรื้อวังของประชาชนก็เพิ่มมากขึ้น เป็นเพราะการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและมีสารเคมีตกค้างในพืชผักที่รับประทานเข้าไป ทางชมรม อสม. หมู่ที่ 8 บ้านหน้าป่า เห็นความสำคัญของกิจกรรมคัคกรองสารเคมีตกค้างในเลือคของประชาชนทุกกลุ่มวัย การอบรมให้ความรู้การส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ และการส่งเสริมการปถูกผักปลอดสารพิษในถุงปลูก แทนการปถูกผักในกระถางเพื่อลคต้นทุนค่าใช้จ่าย เพราะ การปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคเองภายในครัวเรือนจะช่วยลดสารเคมีตกค้างในผักที่เราบริโภค ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตโดยตรงซึ่งคนในชุมชนมีการเจ็บป่วย ระบบทางดินหายใจและโรคผิวหนัง เช่นอาการแพ้และผื่นคัน ตามร่งกายและยังมีสารพิมตกค้างในร่างกาย ที่ยู่ในข้าวและพืชผัก การใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่นการใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง หรืออื่น ๆ ไม่เพียงแต่ผู้ผลิต ผู้บริโภค แต่ยังส่งผกระทบต่อทรัพย์กรและสิ่งแวดถัอมในชุมขน เช่น ดิน แหล่งน้ำ พืช และสัตว์น้ำ ซึ่งหากคนในชุมชนยังขาดความรู้และตระหนักในปัญหาดังกล่าวแล้วผลกระทบที่จะเกิดขึ้นก็จะส่งผลกระทบในระยะยาว ดังนั้นการเสนอโครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดำนินชีวิตประจำวันและการลดการใช้สารเคมี กลับมาทำกษตรอินทรีย์ ที่มีความปลอดภัยไปสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารและสุขภาพของคนในชุมชนที่ดีและมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนในพื้นที่ ประชาชนได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น สามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพได้อย่างทั่วถึง |
90.00 | 90.00 |
2 | เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองได้ ประชาชนมีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพได้ |
80.00 | 80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 13,500.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | คัดกรองสารพิษตกค้างในเลือด | 0 | 13,500.00 | - |
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถลดปริมาณสารตกค้างในเลือดได้
- สามารถลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังในพื้นที่ได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2568 00:00 น.