กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งต้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศอีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด - ๑๙ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน และส่งต่อข้อมูลกับสถานพยาบาลโดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพติจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง หรือเมื่อแพทย์ต้องการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จึงมีความคาดหวังว่าจะช่วยให้ประชาชนทั้งกลุ่มปกติ และกลุ่มป่วยสามารถเข้าถึงบริการ การตรวจเฝ้าระวังทางสุขภาพได้สะดวกขึ้น และลดอัตราการป่วย การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลงได้ จึงได้จัดทำโครงการนำร่องจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน ( Health Station) ขึ้น ในพื้นที่เขตบริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของประชาชน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนในพื้นที่บริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ได้มีจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในชุมชนนำร่อง (Health station) ในการตรวจเช็คสุขภาพ ร้อยละ 80
0.00 0.00

 

 

 

2 ข้อที่ 2. . เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น การวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การวัดรอบเอว
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น การวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การวัดอกเอว ร้อยละ 80
0.00

 

 

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่แพทย์ต้องติดตาม ความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด สามารถเข้าถึงบริการได้ อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : 3. ผู้ป่วยที่แพทย์ต้องติดตาม ความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด สามารถเข้าถึงบริการได้ อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น ร้อยละ 80
0.00