โครงการสุขภาพดี วิถีคนหมู่ 9
ชื่อโครงการ | โครงการสุขภาพดี วิถีคนหมู่ 9 |
รหัสโครงการ | 68-L3346-2-29 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 |
วันที่อนุมัติ | 24 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 21,350.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางทวิพร สร้อยทอง/ประธาน อสม. หมู่ที่ 9 บ้านไผ่รอบ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 เม.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 21,350.00 | |||
รวมงบประมาณ | 21,350.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 90 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องด้วยสถานการณ์ในปัจจุบันพบว่าร้อยละ 80 ของประชากรในหมู่บ้าน ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งมีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมในการดำรงชีวิตประจำวัน และการมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ตัวอย่างเช่น โรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น ส่วนโรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมไม่ดี เช่น โรคไข้เลือดออก โรคทางเดินหายใจ มลภาวะเป็นพิษ มีกลิ่นรบกวน ส่งผลต่อการเกิดสุขภาพจิตที่ไม่ดี ตลอดถึงการกำจัดที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีการแยกขยะจากครัวเรือน ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะของทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สามารถควบคุมได้หากคนในชุมชนมีวินัย ฉะนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นแกนนำด้านสุขภาพในหมู่บ้านต้องมาเป็นผู้นำให้กับประชาชนในเรื่องของการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แนวทางการปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง รวมถึงการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อลดการเกิดโรค ทั้งโรคที่เกิดจากพฤติกรรม และโรคที่เกิดจากสภาพแวดล้อมในชุมชน ล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาที่จะต้องช่วยกันแก้ไข เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนในชุมชนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและหมาะสม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องภาวะสุขภาพของตนเอง |
80.00 | 80.00 |
2 | ประชาชนได้มีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ |
80.00 | 80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 21,350.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมตรวจสารพิษตกค้างในเลือด | 0 | 9,000.00 | - | ||
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมผักปลอดสาร คนปลอดภัย | 0 | 2,500.00 | - | ||
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี | 0 | 9,850.00 | - |
- ร้อยละ 80 ของครัวเรือนมีความรู้ด้านสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
- ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองอย่างต่อเนื่อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2568 00:00 น.