โครงการ สร้างความตระหนักรู้วัณโรค ลดการแพร่ระบาดในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ สร้างความตระหนักรู้วัณโรค ลดการแพร่ระบาดในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลกาบัง |
วันที่อนุมัติ | 12 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 20,990.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย องค์กรอนามัยโลกจัดลำดับให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคสูงที่มีการติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) โดย ปี พ.ศ.2559 องค์การอนามัยโลกกำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรคมีเป้าหมายลดอุบัติการณ | 50.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 (จากการทำแบบ ประเมิน Pre-test Post-test) ร้อยละ 60 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถป้องกันตนเองในการแพร่ระบาดในชุมชนได้ (จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม) |
50.00 | 60.00 |
2 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ลดอัตราการเกิดโรค และการส่งต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพขึ้น การค้นหาและการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น |
60.00 | 70.00 |
3 | เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ได้อย่างครอบคลุม ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) และเกิดการตระหนักในเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น |
60.00 | 70.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 20,990.00 | 0 | 0.00 | |
1 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเพื่อสร้างความตระหนักรู้ในชุมชน รุ่นที่1 กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน จำนวน 50 คน /กิจกรรมที่ 2 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รู้เท่าทันวัณโรค รุ่นที่2 กลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยงในชุมชนแออัด จำนวน 50 คน | 0 | 20,990.00 | - |
-ร้อยละ 60 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถป้องกันตนเองในการแพร่ระบาดในชุมชนได้ (จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม) -การค้นหาและการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น -ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) และเกิดการตระหนักในเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2568 00:00 น.