โครงการ รู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ รู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L7579-10(2)-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการชุมชนหัวฝาด |
วันที่อนุมัติ | 30 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 9,950.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | คณะกรรมการชุมชนหัวฝาด 1.นางประไพ เส็นหีม 2.นางสาวอะสะ ชอบงาม 3.นางสาวเฉลา ม่วงน้อย 4.นางสาวสรวย เกษตรกาลาม์ 5.นางเตือนใจ ปัตโก |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางวาลัยพร ด้วงคง |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปี โรคหลอดเลือดสมองเกี่ยวข้องกับปัจ | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และเกิดทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองและครอบครัวให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกวิธี ร้อยละ60 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองและครอบครัวในระดับดีขึ้นไป ในการดูแลสุขภาพ ดังนี้ การลด หวาน มัน เค็ม การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการงดบุหรี่และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ |
1.00 | |
2 | ข้อที่ 2สามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง ข้อที่ 2สามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง |
1.00 | |
3 | ข้อที่ 3 เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านสุขภาพ ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโครงการ |
1.00 | |
4 | ข้อที่ 4 ลดอัตราการเกิดและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่เกิดโรคหลอดเลือดสมอง หลังจากเข้าร่วมโครงการ 3 เดือน |
1.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
การผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง หรือผู้ดูแล มีศักยภาพองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมบริโภคที่เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายถูกวิธี สม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
2. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง หรือผู้ดูแล สามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง
3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2568 14:54 น.