โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ2568
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 24 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 39,940.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายจิรวัฒน์ ทองสงค์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.04528215,100.3926905place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก มากที่สุดอยู่ในกลุ่มเด็กวัยเรียน แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วย ไข้เลือดออกในผู้ใหญ่ และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิด มีการดำเนินงานแบบเชิงรุก โดยกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน วัด มัสยิด ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่ายาง มีหมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งหมด 6 หมู่บ้าน รวมประชากรทั้งหมด 7,202 คน จากข้อมูลตั้งแต่ปี 2563 -2567 (5 ปีย้อนหลัง) มีจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 118 ราย ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่มีการระบาดอย่างต่อเนื่อง การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในกลุ่มเด็กวัยเรียน ในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่ายาง จึงได้จัดทำโครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568” ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่าง ๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบ และเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ให้ความรู้ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย แบบครอบคลุมในพื้นที่ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดอัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก 2. มีวัสดุ อุปกรณ์ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในกลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงที่เหมาะสม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ประชาชนมีพฤติกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง 2. มีวัสดุ อุปกรณ์ ใช้ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างเพียงพอ |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | .จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก(1 ก.พ. 2568-31 ส.ค. 2568) | 0.00 | |||||||
รวม | 0.00 |
1 .จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชน 2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก 3. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2568 14:45 น.