โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิฌานา พูลสวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-14 เลขที่ข้อตกลง 40/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นโยบายด้านสาธารณสุข ประชาชนคนไทยสุขภาพดี ประเทศไทยสุขภาพดี และความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยเน้นการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีการพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ลดค่าใช้จ่ายมีคุณภาพชีวิตที่ดีและยังสามารถ ลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาล รวมไปถึงบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนและยกระดับคุณภาพ การบริการด้านสาธารณสุข โดยพัฒนาระบบบริการสุขภาพเน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วนจากสถานการณ์ของประเทศไทย พบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่าง ๆ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง อุบัติเหตุและโรคอุบัติใหม่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับโลกประเทศและระดับชุมชน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและครบทุกมิติตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์จนถึงระยะท้ายของชีวิตซึ่งต้องดูแลทุกระยะตลอดชีวิตตั้งแต่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยทีมสุขภาพ ที่มีความเข้าใจ ตั้งใจมั่นใจในการให้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน จนเกิดความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ความศรัทธาและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วม ของเทศบาลนครสงขลา ภาคประชาชนต่างๆ รวมทั้งการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคมที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกัน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงร่วมกันดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 7 ชุมชน ให้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานของชีวิตมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและเหมาะสมตามกลุ่มวัยอายุ ครบทั้ง 5 มิติ มิติด้านส่งเสริมสุขภาพ มิติด้านป้องกันควบคุมโรค มิติด้านรักษาพยาบาล มิติด้านฟื้นฟูสุขภาพ และมิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค
ปัจจุบันสถานการณ์โรควิถีชีวิตในประเทศไทยกำลังทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะ ๕ โรคสำคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไตตายเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่รักษายากและไม่หายขาด สาเหตุเกิดจากการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม และอาหารสำเร็จรูปเพิ่มขึ้น รับประทานผักผลไม้น้อยลง
มีร้านอาหาร คาเฟ่ ร้านขายน้ำหวาน ร้านสะดวกซื้อเพิ่มขึ้น และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด
โรคล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไตวายเรื้อรัง
ข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ที่อยู่ในระบบการรักษา มีทั้งหมด 499 คน แยกเป็นโรคเบาหวานจำนวน 128 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 279 คน และเป็นทั้งสองโรค จำนวน 92คน ซึ่งมารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 130 คน ซึ่งมีภาวะแทรกซ้อนทางไต ระยะ 3 จำนวน 35 คน และอีก 379 คน รับยาที่โรงพยาบาลสงขลา,โรงพยาบาลอื่นๆ ของรัฐ และคลินิกเอกชน
ดังนั้น การส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค
สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และไตวายเรื้อรังได้ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น จากการวิเคราะห์ข้อมูลและการทำประชาคมพบว่าปัญหาสุขภาพของประชาชนที่อยู่ในความรับผิดชอบศูนย์ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง พบปัญหาที่สำคัญใน 6 กลุ่มโรค คือกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวายเรื้อรัง หัวใจและหลอดเลือดสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก) การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต่อเนื่อง กลุ่มโรคติดต่อ ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง วัณโรค กลุ่มพิการ-จิตเวช และกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ซึ่งประชาชนเหล่านี้ต้องได้รับบริการด้านสาธารณสุขทั้งเชิงรุกในชุมชนและเชิงรับในศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง รวมถึงการให้ความรู้และสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและชะลอไตเสื่อมและดูแลผู้ป่วยเบาหวานเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและโรงพยาบาลของรัฐ เช่น การตรวจวัดองค์ประกอบร่างกาย การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์ การให้คำแนะนำด้านโภชนาการภายใต้แนวคิด “จะหยุดเบาหวานต้องทานให้เป็น” และ “เบาหวานหายขาดได้ เข้าสู่ระยะสงบ Diabetes Remission จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลแบบองค์รวมครบ 5 มิติสุขภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
- 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ใน 5 มิติสุขภาพ
- 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน/พิการ
- 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนความรอบรู้/ติดตามงานด้านสาธารณสุขของอสม. แกนนำสุขภาพ เจ้าหน้าที่
- กิจกรรมที่ 2 กลุ่มวัยทำงาน (ไม่ใช้งบประมาณ)
- กิจกรรมที่ 3 การดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้พิการ
- กิจกรรมที่ 4 งานคุ้มครองผู้บริโภค (ไม่ใช้งบประมาณ)
- กิจกรรมที่ 5 กลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- 5.1 จัดฐานการเรียนรู้การป้องกันเฝ้าระวังชะลอไตเสื่อม หลอดเลือดสมอง หัวใจ
- 5.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission)
- 5.2.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้ลูกหลานผู้ป่วยเบาหวาน ดวงใจน้อยร่วมดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
2,000
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
70
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลพึ่งตนเองได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และมีโรงเรียนเบาหวานวิทยาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง สามารถดำเนินการได้อย่างเข้มแข็งต่อเนื่อง และผู้ป่วยหายขาดจากโรคได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลแบบองค์รวมครบ 5 มิติสุขภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ จำนวน 20 คน วัยทำงาน จำนวน 2,000 คน ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง/พิการ/เปราะบาง จำนวน 70 คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 130 คน
90.00
2
2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ใน 5 มิติสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มผู้ดูแล จิตอาสามีความรอบรู้ด้านสุขภาพ
80.00
3
3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน/พิการ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
90.00
4
4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้)
ตัวชี้วัด : 4.มีโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้)
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
2,000
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
70
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลแบบองค์รวมครบ 5 มิติสุขภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ (2) 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ใน 5 มิติสุขภาพ (3) 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน/พิการ (4) 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนความรอบรู้/ติดตามงานด้านสาธารณสุขของอสม. แกนนำสุขภาพ เจ้าหน้าที่ (2) กิจกรรมที่ 2 กลุ่มวัยทำงาน (ไม่ใช้งบประมาณ) (3) กิจกรรมที่ 3 การดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้พิการ (4) กิจกรรมที่ 4 งานคุ้มครองผู้บริโภค (ไม่ใช้งบประมาณ) (5) กิจกรรมที่ 5 กลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (7) 5.1 จัดฐานการเรียนรู้การป้องกันเฝ้าระวังชะลอไตเสื่อม หลอดเลือดสมอง หัวใจ (8) 5.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) (9) 5.2.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้ลูกหลานผู้ป่วยเบาหวาน ดวงใจน้อยร่วมดูแล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสิฌานา พูลสวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิฌานา พูลสวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-14 เลขที่ข้อตกลง 40/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นโยบายด้านสาธารณสุข ประชาชนคนไทยสุขภาพดี ประเทศไทยสุขภาพดี และความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยเน้นการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีการพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ลดค่าใช้จ่ายมีคุณภาพชีวิตที่ดีและยังสามารถ ลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาล รวมไปถึงบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนและยกระดับคุณภาพ การบริการด้านสาธารณสุข โดยพัฒนาระบบบริการสุขภาพเน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วนจากสถานการณ์ของประเทศไทย พบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่าง ๆ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง อุบัติเหตุและโรคอุบัติใหม่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับโลกประเทศและระดับชุมชน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและครบทุกมิติตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์จนถึงระยะท้ายของชีวิตซึ่งต้องดูแลทุกระยะตลอดชีวิตตั้งแต่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยทีมสุขภาพ ที่มีความเข้าใจ ตั้งใจมั่นใจในการให้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน จนเกิดความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ความศรัทธาและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วม ของเทศบาลนครสงขลา ภาคประชาชนต่างๆ รวมทั้งการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคมที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกัน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงร่วมกันดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 7 ชุมชน ให้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานของชีวิตมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและเหมาะสมตามกลุ่มวัยอายุ ครบทั้ง 5 มิติ มิติด้านส่งเสริมสุขภาพ มิติด้านป้องกันควบคุมโรค มิติด้านรักษาพยาบาล มิติด้านฟื้นฟูสุขภาพ และมิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค
ปัจจุบันสถานการณ์โรควิถีชีวิตในประเทศไทยกำลังทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะ ๕ โรคสำคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไตตายเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่รักษายากและไม่หายขาด สาเหตุเกิดจากการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม และอาหารสำเร็จรูปเพิ่มขึ้น รับประทานผักผลไม้น้อยลง
มีร้านอาหาร คาเฟ่ ร้านขายน้ำหวาน ร้านสะดวกซื้อเพิ่มขึ้น และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด
โรคล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไตวายเรื้อรัง
ข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ที่อยู่ในระบบการรักษา มีทั้งหมด 499 คน แยกเป็นโรคเบาหวานจำนวน 128 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 279 คน และเป็นทั้งสองโรค จำนวน 92คน ซึ่งมารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 130 คน ซึ่งมีภาวะแทรกซ้อนทางไต ระยะ 3 จำนวน 35 คน และอีก 379 คน รับยาที่โรงพยาบาลสงขลา,โรงพยาบาลอื่นๆ ของรัฐ และคลินิกเอกชน
ดังนั้น การส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค
สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และไตวายเรื้อรังได้ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น จากการวิเคราะห์ข้อมูลและการทำประชาคมพบว่าปัญหาสุขภาพของประชาชนที่อยู่ในความรับผิดชอบศูนย์ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง พบปัญหาที่สำคัญใน 6 กลุ่มโรค คือกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวายเรื้อรัง หัวใจและหลอดเลือดสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก) การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต่อเนื่อง กลุ่มโรคติดต่อ ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง วัณโรค กลุ่มพิการ-จิตเวช และกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ซึ่งประชาชนเหล่านี้ต้องได้รับบริการด้านสาธารณสุขทั้งเชิงรุกในชุมชนและเชิงรับในศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง รวมถึงการให้ความรู้และสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและชะลอไตเสื่อมและดูแลผู้ป่วยเบาหวานเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและโรงพยาบาลของรัฐ เช่น การตรวจวัดองค์ประกอบร่างกาย การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์ การให้คำแนะนำด้านโภชนาการภายใต้แนวคิด “จะหยุดเบาหวานต้องทานให้เป็น” และ “เบาหวานหายขาดได้ เข้าสู่ระยะสงบ Diabetes Remission จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลแบบองค์รวมครบ 5 มิติสุขภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
- 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ใน 5 มิติสุขภาพ
- 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน/พิการ
- 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนความรอบรู้/ติดตามงานด้านสาธารณสุขของอสม. แกนนำสุขภาพ เจ้าหน้าที่
- กิจกรรมที่ 2 กลุ่มวัยทำงาน (ไม่ใช้งบประมาณ)
- กิจกรรมที่ 3 การดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้พิการ
- กิจกรรมที่ 4 งานคุ้มครองผู้บริโภค (ไม่ใช้งบประมาณ)
- กิจกรรมที่ 5 กลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- 5.1 จัดฐานการเรียนรู้การป้องกันเฝ้าระวังชะลอไตเสื่อม หลอดเลือดสมอง หัวใจ
- 5.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission)
- 5.2.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้ลูกหลานผู้ป่วยเบาหวาน ดวงใจน้อยร่วมดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 2,000 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 130 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 70 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลพึ่งตนเองได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และมีโรงเรียนเบาหวานวิทยาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง สามารถดำเนินการได้อย่างเข้มแข็งต่อเนื่อง และผู้ป่วยหายขาดจากโรคได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลแบบองค์รวมครบ 5 มิติสุขภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ จำนวน 20 คน วัยทำงาน จำนวน 2,000 คน ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง/พิการ/เปราะบาง จำนวน 70 คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 130 คน |
90.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ใน 5 มิติสุขภาพ ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มผู้ดูแล จิตอาสามีความรอบรู้ด้านสุขภาพ |
80.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน/พิการ ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน |
90.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้) ตัวชี้วัด : 4.มีโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้) |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 2,000 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 130 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 70 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลแบบองค์รวมครบ 5 มิติสุขภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ (2) 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบองค์รวม ใน 5 มิติสุขภาพ (3) 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน/พิการ (4) 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (เบาหวานหายขาดได้)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนความรอบรู้/ติดตามงานด้านสาธารณสุขของอสม. แกนนำสุขภาพ เจ้าหน้าที่ (2) กิจกรรมที่ 2 กลุ่มวัยทำงาน (ไม่ใช้งบประมาณ) (3) กิจกรรมที่ 3 การดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้พิการ (4) กิจกรรมที่ 4 งานคุ้มครองผู้บริโภค (ไม่ใช้งบประมาณ) (5) กิจกรรมที่ 5 กลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (7) 5.1 จัดฐานการเรียนรู้การป้องกันเฝ้าระวังชะลอไตเสื่อม หลอดเลือดสมอง หัวใจ (8) 5.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) (9) 5.2.2 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้ลูกหลานผู้ป่วยเบาหวาน ดวงใจน้อยร่วมดูแล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบูรณาการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 5 มิติสุขภาพในทุกกลุ่มวัย ของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสิฌานา พูลสวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......