โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูสลีซา นิแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-2-3 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-l2519-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมบริโภคอาหารพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันนำไปสู่ระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น ก่อให้เกิดโรคได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต การดูแลรักษาจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตัวเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน อีกทั้งคนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคควรได้รับการดูแลไม่ให้เกิดภาวะโรคเกิดขึ้น คนที่ไม่ป่วยได้ดูแลสุขภาพตัวเอง การจัดการเพื่อลดปัจจัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงนั้น จำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในการร่วมกันดูแลชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้สึกถึงความเป็นห่วงของชุมชนร่วมด้วยช่วยเหลือกันในการดูแลสุขภาพทั้งของตนเอง ครอบครัว และชุมชนของตนเอง ดังนั้นเพื่อป้องกันและควบคุมของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนและประชาชนในพื้นที่ที่ต้องมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลคนในครอบครัวและดูแลทุกคนในชุมชน การจัดการภาวะสุขภาพแบบมีส่วนร่วมทำให้ลดอัตราการป่วยและตายจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด จึงได้จัดโครงการวิถีชีวิตชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน เพื่อดูแล ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดกลุ่มป่วย เพื่อลดและป้องกันภาวะแทรกซอน ซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตต่อไป และกระตุ้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและเกิดภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพขึ้นในชุมชนเพื่อความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
- 2. เพื่อให้ อสม. และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของโรคความดันเบาหวาน
- กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถนำไปให้ความรู้แก่ประชาชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. ประชากรในชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนชุมชนห่างไกลโรคความดันโลหิต เบาหวาน
2
2. เพื่อให้ อสม. และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 2. อสม.และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (2) 2. เพื่อให้ อสม. และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรูสลีซา นิแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูสลีซา นิแม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-2-3 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-l2519-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมบริโภคอาหารพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันนำไปสู่ระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น ก่อให้เกิดโรคได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต การดูแลรักษาจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตัวเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน อีกทั้งคนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคควรได้รับการดูแลไม่ให้เกิดภาวะโรคเกิดขึ้น คนที่ไม่ป่วยได้ดูแลสุขภาพตัวเอง การจัดการเพื่อลดปัจจัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงนั้น จำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในการร่วมกันดูแลชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้สึกถึงความเป็นห่วงของชุมชนร่วมด้วยช่วยเหลือกันในการดูแลสุขภาพทั้งของตนเอง ครอบครัว และชุมชนของตนเอง ดังนั้นเพื่อป้องกันและควบคุมของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนและประชาชนในพื้นที่ที่ต้องมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลคนในครอบครัวและดูแลทุกคนในชุมชน การจัดการภาวะสุขภาพแบบมีส่วนร่วมทำให้ลดอัตราการป่วยและตายจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด จึงได้จัดโครงการวิถีชีวิตชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน เพื่อดูแล ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดกลุ่มป่วย เพื่อลดและป้องกันภาวะแทรกซอน ซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตต่อไป และกระตุ้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและเกิดภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพขึ้นในชุมชนเพื่อความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
- 2. เพื่อให้ อสม. และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของโรคความดันเบาหวาน
- กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถนำไปให้ความรู้แก่ประชาชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ตัวชี้วัด : 1. ประชากรในชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนชุมชนห่างไกลโรคความดันโลหิต เบาหวาน |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ อสม. และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตัวชี้วัด : 2. อสม.และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (2) 2. เพื่อให้ อสม. และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดย อสม ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรูสลีซา นิแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......