โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางลักษณา หวัดเพ็ชร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-10 เลขที่ข้อตกลง 41/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค ล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้น กินผักผลไม้น้อย และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงที่ทำให้มีผู้สงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงยังทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่ม จากที่กล่าวมากระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายบริหารจัดการเพื่อเฝ้าระวังโรคและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๕ โรคที่สำคัญ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรังดังกล่าวขึ้น
ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ มีเขตพื้นที่ดูแลรับผิดชอบจำนวน ๖ ชุมชน รับผิดชอบประชากรจำนวน 8,0๓๓ คน จำนวน ๒,๘๒๖ หลังคาเรือน ให้บริการดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มอายุ มีจัดบริการดูแลสุขภาพที่ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ตลอดจนการคุ้มครองผู้บริโภค
จากการดำเนินงานผลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ 5 อันดับโรคที่สำคัญ ได้แก่ อันดับ1 โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง อันดับ2 โรคระบบทางเดินหายใจ อันดับ3 โรคระบบกล้ามเนื้อ อันดับ4 โรคระบบทางเดินอาหาร อันดับ5 โรคไข้เลือดออก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อและมีผลจากพฤติกรรมสุขภาพของการใช้ชีวิตประจำวัน รวมทั้งประชาชนจัดการตนเองในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นโดยการพึ่งบริการร้านค้าใกล้บ้าน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถเฝ้าระวังด้านสุขภาพป้องกันตนเองไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ และกลุ่มป่วยไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถจัดการตนเองการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ชุมชนมีส่วนร่วม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน โดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 256๘ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
- ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้
- 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการ
- กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ
- ๑.๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม.PCUใจกลางเมืองและผู้เกี่ยวข้อง
- ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission)
- ๒.๒ อบรมให้ความรู้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ห่วงใย ห่างไกลโรคเบาหวาน
- ๒.๓ กิจกรรมเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
ตัวชี้วัด : 1. มีโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
2. ผู้ป่วยเบาหวานเข้าโรงเรียนเบาหวานวิทยาร้อยละ ๙๐
90.00
2
๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้
ตัวชี้วัด : ๒.ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานบันทึกการจัดการตนเองของผู้ป่วยได้
ร้อยละ๑๐๐
100.00
3
3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.๑ ผู้ป่วยเบาหวานค่า HbA1C ลดลงร้อยละ ๕
๓.๒ ผู้ป่วยเบาหวานเข้าสู่ระยะสงบสามารถลดน้ำหนัก หรือลดยา หรือหยุดยาได้ ร้อยละ๑
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง (2) ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการ (2) กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) ๑.๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม.PCUใจกลางเมืองและผู้เกี่ยวข้อง (4) ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) (5) ๒.๒ อบรมให้ความรู้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ห่วงใย ห่างไกลโรคเบาหวาน (6) ๒.๓ กิจกรรมเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางลักษณา หวัดเพ็ชร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางลักษณา หวัดเพ็ชร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-10 เลขที่ข้อตกลง 41/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค ล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้น กินผักผลไม้น้อย และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงที่ทำให้มีผู้สงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงยังทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่ม จากที่กล่าวมากระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายบริหารจัดการเพื่อเฝ้าระวังโรคและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๕ โรคที่สำคัญ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรังดังกล่าวขึ้น ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ มีเขตพื้นที่ดูแลรับผิดชอบจำนวน ๖ ชุมชน รับผิดชอบประชากรจำนวน 8,0๓๓ คน จำนวน ๒,๘๒๖ หลังคาเรือน ให้บริการดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มอายุ มีจัดบริการดูแลสุขภาพที่ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ตลอดจนการคุ้มครองผู้บริโภค จากการดำเนินงานผลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ 5 อันดับโรคที่สำคัญ ได้แก่ อันดับ1 โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง อันดับ2 โรคระบบทางเดินหายใจ อันดับ3 โรคระบบกล้ามเนื้อ อันดับ4 โรคระบบทางเดินอาหาร อันดับ5 โรคไข้เลือดออก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อและมีผลจากพฤติกรรมสุขภาพของการใช้ชีวิตประจำวัน รวมทั้งประชาชนจัดการตนเองในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นโดยการพึ่งบริการร้านค้าใกล้บ้าน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถเฝ้าระวังด้านสุขภาพป้องกันตนเองไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ และกลุ่มป่วยไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถจัดการตนเองการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ชุมชนมีส่วนร่วม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน โดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 256๘ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
- ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้
- 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการ
- กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ
- ๑.๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม.PCUใจกลางเมืองและผู้เกี่ยวข้อง
- ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission)
- ๒.๒ อบรมให้ความรู้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ห่วงใย ห่างไกลโรคเบาหวาน
- ๒.๓ กิจกรรมเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ตัวชี้วัด : 1. มีโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 2. ผู้ป่วยเบาหวานเข้าโรงเรียนเบาหวานวิทยาร้อยละ ๙๐ |
90.00 |
|
||
2 | ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้ ตัวชี้วัด : ๒.ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานบันทึกการจัดการตนเองของผู้ป่วยได้ ร้อยละ๑๐๐ |
100.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : 3.๑ ผู้ป่วยเบาหวานค่า HbA1C ลดลงร้อยละ ๕ ๓.๒ ผู้ป่วยเบาหวานเข้าสู่ระยะสงบสามารถลดน้ำหนัก หรือลดยา หรือหยุดยาได้ ร้อยละ๑ |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง (2) ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการ (2) กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) ๑.๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม.PCUใจกลางเมืองและผู้เกี่ยวข้อง (4) ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) (5) ๒.๒ อบรมให้ความรู้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ห่วงใย ห่างไกลโรคเบาหวาน (6) ๒.๓ กิจกรรมเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนโดยการส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วย ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางลักษณา หวัดเพ็ชร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......