กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในคลินิกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางเมทินี ขุนเจริญ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ




ชื่อโครงการ โครงการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในคลินิกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-13 เลขที่ข้อตกลง 45/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในคลินิกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในคลินิกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในคลินิกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,605.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายด้านสาธารณสุข ประชาชนคนไทยสุขภาพดี ประเทศไทยสุขภาพดี และความรอบรู้ด้าน สุขภาพโดยเน้นการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีการพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ลดค่าใช้จ่ายมีคุณภาพชีวิตที่ดีและยังสามารถลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาล รวมไปถึงบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนและยกระดับคุณภาพ การบริการด้านสาธารณสุข โดยพัฒนาระบบบริการสุขภาพเน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วนจากสถานการณ์ของประเทศไทย พบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่าง ๆ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง อุบัติเหตุและโรคอุบัติต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับโลกประเทศ และระดับชุมชน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและครบทุกมิติตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์จนถึงระยะท้ายของชีวิตซึ่งต้อง ดูแลทุกระยะตลอดชีวิตตั้งแต่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยทีมสุขภาพ ที่มีความเข้าใจ ตั้งใจมั่นใจในการให้บริการ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน จนเกิดความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ความศรัทธาและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่กับ ประชาชนในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วม ของเทศบาลนครสงขลา ภาคประชาชนต่างๆ รวมทั้งการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคมที่มีความเชื่อมโยง เป็นเป็นหนึ่งเดียวกัน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษร่วมกันดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 11 ชุมชน ให้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานของชีวิตมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ สถานการณ์ ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลนครสงขลาที่อยู่ในระบบการรักษา มี ทั้งหมด 11, 848 คน แยกเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 3,243 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 6,494 คน และเป็น ทั้งสองโรค จำนวน 2,109 คน (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, 2566) จากข้อมูลจากงานเวชสถิติโรงพยาบาลสงขลา ปี 2562 – 2566 พบว่าผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่ 134, 104, 121, 145 และ 165 ตามลำดับ (โรงพยาบาลสงขลา, 2566) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยพบว่าผู้ป่วยรายใหม่ อายุน้อยสุดคือ 37 ปี ทั้งชายและหญิง จากฐานข้อมูลโรงพยาบาลสงขลา พบว่า ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 ในเขตเทศบาลนครสงขลา พ.ศ. 2565 มี จำนวน 191 ราย ปัจจุบันคนไทยเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากขึ้น อาทิ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่ง 2 โรคนี้นำไปสู่ภาวะไตเสื่อมและไตวายเรื้อรัง อุบัติการณ์โรคไตเรื้อรังหรือ chronic kidney disease (CKD) ในปัจจุบันได้เพิ่มมากขึ้นจนเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย เมื่อผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การรักษาด้วยวิธีบำบัดทดแทนไต ซึ่งได้แก่ การล้างไตทางช่องท้อง การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการปลูกถ่ายไต มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยในระยะยาว ปี 2567 มีผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ เทศบาลนครสงขลา จำนวน 106 คน แยกเป็น โรคไขมันในเลือดสูง 7 คน,โรคเบาหวาน 10 คน, โรคความดันโลหิตสูง 63 คน , โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 26 คน
ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ รวมถึงการให้ความรู้และสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและชะลอไตเสื่อมและดูแลผู้ป่วยเบาหวานเพื่อ ลดภาวะแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและโรงพยาบาลของรัฐ เช่น การตรวจวัดองค์ประกอบร่างกาย การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์ การให้คำแนะนำด้านโภชนาการภายใต้แนวคิด “จะหยุดเบาหวานต้องทานให้เป็น” และ “เบาหวานหายขาดได้ เข้าสู่ระยะสงบ Diabetes Remission จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการดูแลแบบองค์รวม ตามมาตรฐานวิชาชีพ
  2. 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสามีความรอบรู้ในการดูแล ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  3. 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ลดภาวะแทรกซ้อน/พิการ
  4. 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (ศูนย์ฯสระเกษ) (เบาหวานระยะสงบ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนความรอบรู้/ติดตามงานด้านสาธารณสุขของ อสม. แกนนำสุขภาพ
  2. กิจกรรมที่ 2 กลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อเฝ้าระวังแทรกซ้อน
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  4. 2.1.1 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) และสร้างความรอบรู้ให้ลูกหลานผู้ป่วยเบาหวาน ดวงใจน้อยร่วมดูแล นักเรียนเบาหวาน จำนวน 10 คน,จิตอาสา
  5. 2.2 จัดฐานการเรียนรู้การป้องกันเฝ้าระวังชะลอไตเสื่อม หลอดเลือดสมอง หัวใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวม 2.ผู้ป่วยในคลินิกมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลพึ่งตนเองได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 2.กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารรสชาติที่เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการดูแลแบบองค์รวม ตามมาตรฐานวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ
90.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสามีความรอบรู้ในการดูแล ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ผู้ดูแลและจิตอาสามีความรอบรู้ในการดูแล ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80.00

 

3 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ลดภาวะแทรกซ้อน/พิการ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 90 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
90.00

 

4 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (ศูนย์ฯสระเกษ) (เบาหวานระยะสงบ)
ตัวชี้วัด : 4.มีโรงเรียนเบาหวานวิทยา (ศูนย์ฯสระเกษ) (เบาหวานระยะสงบ)

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการดูแลแบบองค์รวม ตามมาตรฐานวิชาชีพ (2) 2.เพื่อให้ผู้ดูแลและจิตอาสามีความรอบรู้ในการดูแล ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) 3.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ลดภาวะแทรกซ้อน/พิการ (4) 4.เพื่อเปิดโรงเรียนเบาหวานวิทยา (ศูนย์ฯสระเกษ) (เบาหวานระยะสงบ)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนความรอบรู้/ติดตามงานด้านสาธารณสุขของ อสม. แกนนำสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 กลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อเฝ้าระวังแทรกซ้อน (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4) 2.1.1 อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) และสร้างความรอบรู้ให้ลูกหลานผู้ป่วยเบาหวาน ดวงใจน้อยร่วมดูแล นักเรียนเบาหวาน จำนวน 10 คน,จิตอาสา (5) 2.2 จัดฐานการเรียนรู้การป้องกันเฝ้าระวังชะลอไตเสื่อม หลอดเลือดสมอง หัวใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในคลินิกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเมทินี ขุนเจริญ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด