กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 รพ.สต.บ้านเตราะหัก ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางดวงตา ยามิง




ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 รพ.สต.บ้านเตราะหัก

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2997-01-02 เลขที่ข้อตกลง 08/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 รพ.สต.บ้านเตราะหัก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 รพ.สต.บ้านเตราะหัก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 รพ.สต.บ้านเตราะหัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2997-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   1,000 วันแรกของชีวิต” ถือเป็นต้นกำเนิดของการสร้างรากฐานการมีภาวะสุขภาพที่ดีตลอดช่วงชีวิต โดยเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงอายุ 2 ปี ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสทองของการสร้างทุนมนุษย์ที่สำคัญ และคุ้มค่ากับการลงทุนมากที่สุด เนื่องจากเป็นช่วงที่สมองมีการพัฒนาสูงสุด ทั้งการสร้างเซลล์สมองและ การเชื่อมโยงเซลล์สมองกับโครงข่ายเส้นใยประสาททำให้เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้จดจำและมีการ เจริญเติบโตด้านร่างกายอย่างรวดเร็ว ส่วนสูงของเด็กที่อายุ 2 – 3 ปี ถือเป็น Proxy indicator ของสุขภาพ ผู้ใหญ่และเป็นทุนมนุษย์ที่สำคัญ ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน แนวทางการดำเนินงาน ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน 1 กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ร่วมกับภาคีเครือข่าย ได้ขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรก ของชีวิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพของสตรีและเด็กปฐมวัยไทย โดยมีชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ร่วมลงทุนและเป็นเจ้าของการขับเคลื่อนงานผ่านกลไกและมาตรการ ที่มีอยู่ในพื้นที่ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมสำคัญกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน การพัฒนาคุณภาพ งานบริการสาธารณสุข ทั้งคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 – 2 ปี ทุกคน ได้รับบริการครบถ้วนและดูแลอย่างทั่วถึง โดยไม่ทอดทิ้ง กลุ่มด้อยโอกาส และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับภาคีเครือข่ายภายใต้ การบูรณาการความร่วมมือ กลุ่มเด็กปฐมวัย 6 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม ในการร่วมขับเคลื่อน การดำเนินงานการ จากข้อมูล โรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบบบ้านเตราะหัก ปี 2567 พบว่า หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75.00 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพร้อยละ 43.75 หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 66.67 ภาวะภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 60.00 เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ร้อยละ 94.34 (ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 กันยายน 2567) ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเตราะหัก จึงได้จัดโครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2500 วัน เพื่อส่งเสริมให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย พัฒนาการสมวัย สร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสุขภาพมารดาตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจการฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และ การคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรงครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ซึ่ง จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการฝากครรภ์คุณภาพ คือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิง ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ เกิดความ ปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์ ทุกวันนี้ ในโลกยังมีผู้หญิงเสียชีวิต จากปัญหาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด และมีอีกนับหมื่นๆ คนที่ประสบภาวะแทรกซ้อน สำหรับประเทศไทย โดยเฉลี่ยผู้หญิงเสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด วันละ 1-2 คนมีแม่และเด็กจำนวนมากเจ็บป่วยรุนแรงถึงพิการ จากสาเหตุส่วนใหญ่ที่สามารถป้องกันได้อันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดลูกจะลดลงได้ เมื่อผู้หญิงมีสุขภาพแข็งแรง และมีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อม มีข้อมูลจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่าสภาวะการ ตั้งครรภ์ และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรของหญิงอายุต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ และหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่ปี 2553 – 2567 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเกือบทุกปี การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือท้องวัยทีน คือ การตั้งครรภ์เมื่ออายุ 19 ปี หรืออ่อนกว่านี้ พบร้อยละ 10 – 30 ของการตั้งครรภ์ทั้งหมด นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ของทุกประเทศทั่วโลก ใน 10 ปี มานี้เอง ท้องในวัยรุ่นในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จากร้อยละ 10 ในปี พ.ศ. 2555 เป็นกว่าร้อยละ 15 ทั้งนี้พฤติกรรม เสี่ยงดังกล่าว เป็นสาเหตุหนึ่งของการตายคลอดคลอดบุตรน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัมซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเตราะหัก ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ“อนามัยแม่และเด็กลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย” เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมตั้งแต่อายุ 20 ขึ้นไป ไปรับการตรวจสุขภาพเร็วที่สุดตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ รับการตรวจครรภ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ ฝากครรภ์อย่างน้อย 8 ครั้ง และได้รับการคลอดในสถานบริการ (โรงพยาบาล) จากสถานการณ์ดังกล่าว พบว่า กระบวนการดำเนินงานและการแก้ไขปัญหาโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพียงฝ่ายเดียว ไม่สามารถ ประสบความสำเร็จได้และไม่ยั่งยืน ดังนั้น เงื่อนไขสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จคือ การบูรณาการและการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง ถือเป็นความท้าทายที่สำคัญ ดังนั้น 1000 วันแรกของชีวิต ที่เริ่มตั้งแต่การตังครรภ์และเด็กจนถึงอายุ 2 ปี เป็นช่วงเวลาสำคัญของกระบวนการพัฒนาการทาง ร่างกายและสมอง เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง มีการเพิ่มเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสม ร่วมกับความรัก ความอบอุ่น จากกระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า จะทำให้ทารกเจริญเติบโต และพัฒนา เป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูง ดังนั้น เพื่อให้การดูแลสุขภาพหญิงตังครรภ์และเด็กจนถึงอายุ ๒ ปี บรรลุตามวัตถุประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเตราะหักจึงได้จัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 3.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 4. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 5.เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน 6.เพื่อให้เด็กมีสุขภาวะดีครบทั้ง 5 ด้าน (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคซีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะซีด และฟันดีไม่ผุ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดความร่วมมือผ่านภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
    2. หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วและสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้
    3. หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องภาวะโภชนการในระหว่างตั้งครรภ์และภาวะซีด พร้อมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนครอบครัวและเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
    4. ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการใช้เครื่องมือ DSPM ตรวจพัฒนาการได้อย่างถูกต้อง
    5. เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง 3.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 4. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 5.เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน 6.เพื่อให้เด็กมีสุขภาวะดีครบทั้ง 5 ด้าน (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคซีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะซีด และฟันดีไม่ผุ)
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 2.ร้อยละ 70 ของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง 3.ร้อยละ 70 หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 4.ร้อยละ 14 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีภาวะซีด ลดลง 5.ร้อยละ 30 เด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 6.ร้อยเด็ก 0-5 ปี ผ่านเกณฑ์ 5 ด้าน 6.1 ร้อยละ 85 ของเด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 6.2.ร้อยละ 66 ของเด็ก 0-5 ปีผ่านเกณฑ์ สูงดีสมส่วน 6.3 ร้อยละ 60 ของเด็ก 0-5 ปี ไม่ซีด 6.4 ร้อยละ 50ของเด็ก 3 ปี ได้รับการตรวจฟัน 6.5 ร้อยละ 40 ของเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์  2.เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง  3.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์  4. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์  5.เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน 6.เพื่อให้เด็กมีสุขภาวะดีครบทั้ง 5 ด้าน (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคซีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะซีด และฟันดีไม่ผุ)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ปีงบประมาณ 2568 รพ.สต.บ้านเตราะหัก จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L2997-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางดวงตา ยามิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด