โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อโครงการ | โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง |
รหัสโครงการ | 68-L5235-3-17 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | - |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเจนจิรา อักษรวงศ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายศุฤกษ์ การะเกตุ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.542,100.388place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรจะได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการเพื่อเด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ซึ่งจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี อาหารกลางวันจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องได้รับประทานทุกคน และได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบทั้ง ๕ หมู่ เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มาพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี จึงได้ดำเนินโครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งได้เชิญผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเข้าร่วมโครงการ เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ประชุมคณะครูและเจ้าหน้าที่กองการศึกษาฯ เพื่อร่วมวงแผนและกำหนดห้วงเวลาในการจัดโครงการ
2.ดำเนินการจัดเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
3.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตามโครงการ
4.เริ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆตามโครงการ
5.ประเมินผลโครงการฯ โดยใช้แบบสังเกต
6.สรุปผลและรายงานผลให้ผู้บังคับบัญชาและหน่วยงานที่สนับสนุบทราบ
- ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้ 2. ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน 3. ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ 4. ร้อยละ 100 เด็กมีสุขภาพดี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 2568 14:06 น.