โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ เพื่อนำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต แก่ญาติ/ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ เพื่อนำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต แก่ญาติ/ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกลาง ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5170-1-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกลาง |
วันที่อนุมัติ | 29 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 16,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางมยุรา ชูทอง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.229,100.402place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องด้วยในปัจจุบัน การเจ็บป่วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในหลายๆโรคจะปรับเปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจวัฒนธรรม ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของประชาชนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิต และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือขาดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องนอกจากนี้ประเทศไทยก้าวเข้าส่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด ผู้สงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบาง ด้านสขภาพกาย การจัดระบบการดูแลเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (Active Aging) มีความรู้ความสามารถและความมั่นคงในชีวิต ที่ผ่านมาทำได้ในระยะเวลาสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและพิการ มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติ ผู้ดูแลและป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาเพียงพอ ี่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพโดยไม่มีขีดจำกัดด้านเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดผลดี ต่อประชาชนการมีสุขภาพดีเป็นต้นทุนของทุกคน ดังนั้น จึงควรทำให้สุขภาพดีตลอดการสร้างนำซ่อมหรือที่เรียกว่าการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จึงเป็นกระบวนการที่สำคัญแต่ปัจจุบันอัตราการรักษาพยาบาลสูงขึ้นค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มมากขึ้น แต่ผลตอบแทนด้านสุขภาพน้อย เห็นได้จากอาการการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการปฏิบัติตน ยังมีอัตราที่สูง ไตวาย ผ้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียงยังเป็นปัญหาของชุมชน และผู้ป่วยเรื้อรังมีโรคแทรกซ้อน เช่นโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ฯลฯ จนถึงขั้นกลายเป็นผ้พิการและผู้ป่วยติดเตียง อนึ่งผู้ป่วยและประชาชนในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลางง จึงต้องมีการดูแลสุขภาพที่บ้านแบบบูรณาการ ให้คำแนะนำ และความรู้แก่ญาติและผู้ป่วยที่บ้าน จะก่อให้เกิดผลแบบองค์รวมทั้งกาย จิตสังคม สังคม และยังมีผลต่อกลุ่มเป้าหาย ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะส ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผ้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟ สมรรถภาพร่างกายและจิตใจ |
||
2 | 2.เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง ให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง ให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว |
||
3 | 3.เพื่อให้ญาติมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย มีศักยภาพเพียงพอที่จะดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง ได้ ร้อยละ 80 ญาติมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย มีศักยภาพเพียงพอที่จะดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง ได้ |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 1.กิจกรรมคัดกรองโดยแบบสอบถามการตรวจคัดกรอง 1.1แบบคัดกรองผู้สูงอายุในชุมชน 1.2แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) | 0 | 0.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 2.การอบรมให้ความรู้แก่ญาติ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิต | 100 | 16,800.00 | - | ||
รวม | 100 | 16,800.00 | 0 | 0.00 |
1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผ้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง มีขวัญและกำลังใจทำให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว 3.ญาติมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย มีศักยภาพเพียงพอที่จะดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียงได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 2568 14:46 น.