โครงการรู้เท่าทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อเด็กแรกเกิด – 5 ปี
ชื่อโครงการ | โครงการรู้เท่าทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อเด็กแรกเกิด – 5 ปี |
รหัสโครงการ | 68-L2500-02-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะบายะ |
วันที่อนุมัติ | 22 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 24,270.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางมาเรียนี ซาลีซิง |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลุโบะบายะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.422,101.663place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 26 พ.ค. 2568 | 26 พ.ค. 2568 | 24,270.00 | |||
รวมงบประมาณ | 24,270.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
เด็กวัยก่อนเรียนเป็นประชากรที่มีความสำคัญและเป็นอนาคตของชาติ ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยนี้เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสติปัญญา ประกอบกับนโยบายของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยยึดถือการได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการครอบคลุมระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะบายะ ตำบลลุโบะบายะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ในปี 2567 ที่ผ่านมาพบว่า กลุ่มเด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 224 คน มารับบริการทั้งหมด 91 คน คิดเป็นร้อยละ 41.18 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดคือร้อยละ95 ฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯจากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่าเด็ก 0-5 ปีในเขตรับผิดขอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะบายะ ตำบลลุโบะบายะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุม จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวไปสู่อนาคตต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อ1.เด็กอายุแรกเกิด-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อ2. เพื่อเพิ่มสัมพันธภาพที่ดีกับส่งเสริมสุขภาพ ข้อ3.เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับส่งเสริมสุขภาพ ข้อ4. .เพื่อให้ชุมชนให้ความสำคัญกับการได้รับวัคซีน ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กอายุแรกเกิด - 5ปีได้รับความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ร้อยละ 95 ผู้ปกครองได้รับสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ปกครองด้วยกันร้อยละ100 ผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดุแลเดได้รับขวัญและกำลังใจร้อยละ 100 ชุมชนให้ความสำคัญกับการได้รับวัคซีน ร้อยละ 100 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ข้อ1.เด็กอายุแรกเกิด-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อ2. เพื่อเพิ่มสัมพันธภาพที่ดีกับส่งเสริมสุขภาพ ข้อ3.เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับส่งเสริมสุขภาพ ข้อ4. .เพื่อให้ชุมชนให้ความสำคัญกับการได้รับวัคซีน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | โครงการรู้เท่าทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อเด็กเเรกเกิด-5ปี | 0.00 | 24,270.00 | - | ||
26 พ.ค. 68 | รู้เท่าทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อเด็กแรกเกิด-5ปี | 120.00 | 24,270.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
วิธีดำเนินการ ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมคณะทำงาน เพื่อพิจารณาหาแนวทางการวางแผนการดำเนินงาน 2. จัดหาแหล่งสนับสนุนงบประมาณ ในการดำเนินงานโครงการ โดยขอสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลุโบะบายะ 3. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก 2.ติดตามกลุ่มเด็กอายุแรกเกิด – 5ปี ที่ไม่ได้รับวัคซีนเข้าสู่กระบวนการต่อไป ขั้นประเมินผล 1. สรุปผลการดำเนินโครงการ
- ความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ร้อยละ 95
- เกิดสัมพันธภาพที่ดีขึ้นระหว่างผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กกับเจ้าหน้าที่
- ไม่เกิดโรคติดต่อป้องกันด้วยวัคซีนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
- ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 2568 15:03 น.