โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางปารีดะ แก้วกรด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-03-68 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-03-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 89,895.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ครอบครัวจัดได้ว่าเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดและเป็นสถาบันพื้นฐานของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นสถาบันเริ่มต้นของสังคมทุกสังคม ดังนั้นสถาบันครอบครัวถือเป็นหน่วยพื้นฐานของสังคม ที่มีบทบาทสำคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การอบรมเลี้ยงดู การถ่ายทอดวัฒนธรรม และการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิก ครอบครัวที่มีความอบอุ่น เข้มแข็ง และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี จะส่งผลให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม หากทุกครอบครัวในชุมชนเป็นครอบครัวที่อบอุ่น ย่อมจะทำให้ชุมชนอบอุ่นหรือชุมชนแข็งแรงและต่อเนื่องไปถึงเมืองไทยแข็งแรงไปด้วย การที่จะสร้างความรักความอบอุ่นช่วงที่มีการตั้งครรภ์ เพราะเป็นช่วงที่มีการเอาใจใส่ที่ดีเยี่ยม ทำให้มารดาได้รับการเอาใจใส่มากขึ้น ช่วงตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาสำคัญที่ครอบครัว โดยเฉพาะคู่สามีภรรยา ต้องเตรียมความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ และความสัมพันธ์ เพื่อรองรับบทบาทใหม่ของการเป็นพ่อแม่ ความรัก ความเข้าใจ และการดูแลซึ่งกันและกันในช่วงนี้ จะช่วยส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ลดความเครียด และช่วยให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ การให้ความรู้กับสามีเพื่อมีส่วนร่วมในการดูแลภรรยา และเตรียมตัวเป็นพ่อที่มีคุณภาพ ยังเป็นการวางรากฐานครอบครัวสุขภาพดีอย่างแท้จริงในระยะยาวปัจจุบันครอบครัวไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวจากเดิมที่ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย มีสมาชิกในครอบครัว 3 ช่วงอายุ กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวที่เหลือเพียงพ่อแม่ลูกเท่านั้น และนับวันยิ่งมีขนาดเล็กลง จำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือเพียง 1.5 คนต่อครอบครัว คณะรัฐมนตรีจึงมีมติกำหนดให้ทุกวันอาทิตย์เป็นวัน "ครอบครัวแข็งแรง" เพื่อสมาชิกจะได้อยู่ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ การมีครอบครัวที่อบอุ่นทำให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทำหน้าที่ได้เหมาะสม และทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพจิตดีไปด้วย
ตำบลบูกิต จากความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว บางครอบครัวไม่ได้อยู่ด้วยกัน เช่น พ่อแม่ไปทำงานมาเลเซีย ฝากให้ผู้สูงอายุดูแลบุตร บางครอบครัว สามีไปทำงานปล่อยให้ภรรยาเลี้ยงลูกคนเดียว ทำให้ ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว พ่อแม่ต้องทำงานหนัก ไม่มีเวลาให้ลูก ปัญหาการเลี้ยงดูและพฤติกรรมเด็ก ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว พ่อแม่ไม่ทำหน้าที่พ่อแม่ เช่น ไม่ดูแลลูก ไม่ให้ความรัก หรือปล่อยให้โตตามยถากรรม ปัญหาการหย่าร้างหรือครอบครัวไม่สมบูรณ์ พ่อแม่แยกทางกัน ส่งผลต่อสุขภาพจิตของลูกเด็กขาดที่พึ่งทางใจ ซึ่งอาจมีปัญหาด้านพฤติกรรมตามมาซึ่งอาจส่งผลต่อความมั่นคงของครอบครัวและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกโดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ แนวทางการป้องกันและแก้ไขเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะครอบครัว เช่น การสื่อสารที่ดี การควบคุมอารมณ์ ให้กำลังใจกันและกัน ทำกิจกรรมร่วมกันสนับสนุนครอบครัว เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวสามารถพัฒนาและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม มีความรู้ ทักษะ และการสนับสนุนที่เพียงพอในการดูแลซึ่งกันและกัน รวมถึงการเสริมสร้างความรัก ความผูกพัน และความเข้าใจภายในครอบครัว อันจะเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาสังคมที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืนจากข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ในตำบลบูกิตที่เริ่มฝากครรภ์ ตั้งแต่1 ตุลาคม 2567 ถึง ปัจจุบัน (เดือน มิถุนายน 2568) มีจำนวนทั้งหมด 158 คน โดยแยกเป็น รพสต.ไอสะเตียร์จำนวน55 คนรพสต. บูกิต จำนวน54 รายรพสต. ปีแนมูดอ จำนวน43 ราย
อบต.บูกิตได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพดีทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติด้านจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณที่ดี จึ่งร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต จัดทำโครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิตประจำปี 2568 ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเตรียมประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง
- เพื่อให้หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ
- อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 1,2,3,9,14
- อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 4,5,8,13
- อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 6,7,10,11,12
- แกนนำสุขภาพติดตามพฤติกรรมครอบครัวสุขภาพดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
198
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
แกนนำสุขภาพ
42
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง
- หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
- แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเตรียมประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง
240.00
192.00
2
เพื่อให้หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
14.00
14.00
3
เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของแกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
42.00
25.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
240
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
198
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
แกนนำสุขภาพ
42
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเตรียมประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง (2) เพื่อให้หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี (3) เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ (2) อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 1,2,3,9,14 (3) อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 4,5,8,13 (4) อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 6,7,10,11,12 (5) แกนนำสุขภาพติดตามพฤติกรรมครอบครัวสุขภาพดี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-03-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปารีดะ แก้วกรด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางปารีดะ แก้วกรด
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-03-68 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-03-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 89,895.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ครอบครัวจัดได้ว่าเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดและเป็นสถาบันพื้นฐานของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นสถาบันเริ่มต้นของสังคมทุกสังคม ดังนั้นสถาบันครอบครัวถือเป็นหน่วยพื้นฐานของสังคม ที่มีบทบาทสำคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การอบรมเลี้ยงดู การถ่ายทอดวัฒนธรรม และการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิก ครอบครัวที่มีความอบอุ่น เข้มแข็ง และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี จะส่งผลให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม หากทุกครอบครัวในชุมชนเป็นครอบครัวที่อบอุ่น ย่อมจะทำให้ชุมชนอบอุ่นหรือชุมชนแข็งแรงและต่อเนื่องไปถึงเมืองไทยแข็งแรงไปด้วย การที่จะสร้างความรักความอบอุ่นช่วงที่มีการตั้งครรภ์ เพราะเป็นช่วงที่มีการเอาใจใส่ที่ดีเยี่ยม ทำให้มารดาได้รับการเอาใจใส่มากขึ้น ช่วงตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาสำคัญที่ครอบครัว โดยเฉพาะคู่สามีภรรยา ต้องเตรียมความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ และความสัมพันธ์ เพื่อรองรับบทบาทใหม่ของการเป็นพ่อแม่ ความรัก ความเข้าใจ และการดูแลซึ่งกันและกันในช่วงนี้ จะช่วยส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ลดความเครียด และช่วยให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ การให้ความรู้กับสามีเพื่อมีส่วนร่วมในการดูแลภรรยา และเตรียมตัวเป็นพ่อที่มีคุณภาพ ยังเป็นการวางรากฐานครอบครัวสุขภาพดีอย่างแท้จริงในระยะยาวปัจจุบันครอบครัวไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวจากเดิมที่ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย มีสมาชิกในครอบครัว 3 ช่วงอายุ กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวที่เหลือเพียงพ่อแม่ลูกเท่านั้น และนับวันยิ่งมีขนาดเล็กลง จำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือเพียง 1.5 คนต่อครอบครัว คณะรัฐมนตรีจึงมีมติกำหนดให้ทุกวันอาทิตย์เป็นวัน "ครอบครัวแข็งแรง" เพื่อสมาชิกจะได้อยู่ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ การมีครอบครัวที่อบอุ่นทำให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทำหน้าที่ได้เหมาะสม และทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพจิตดีไปด้วย ตำบลบูกิต จากความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว บางครอบครัวไม่ได้อยู่ด้วยกัน เช่น พ่อแม่ไปทำงานมาเลเซีย ฝากให้ผู้สูงอายุดูแลบุตร บางครอบครัว สามีไปทำงานปล่อยให้ภรรยาเลี้ยงลูกคนเดียว ทำให้ ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว พ่อแม่ต้องทำงานหนัก ไม่มีเวลาให้ลูก ปัญหาการเลี้ยงดูและพฤติกรรมเด็ก ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว พ่อแม่ไม่ทำหน้าที่พ่อแม่ เช่น ไม่ดูแลลูก ไม่ให้ความรัก หรือปล่อยให้โตตามยถากรรม ปัญหาการหย่าร้างหรือครอบครัวไม่สมบูรณ์ พ่อแม่แยกทางกัน ส่งผลต่อสุขภาพจิตของลูกเด็กขาดที่พึ่งทางใจ ซึ่งอาจมีปัญหาด้านพฤติกรรมตามมาซึ่งอาจส่งผลต่อความมั่นคงของครอบครัวและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกโดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ แนวทางการป้องกันและแก้ไขเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะครอบครัว เช่น การสื่อสารที่ดี การควบคุมอารมณ์ ให้กำลังใจกันและกัน ทำกิจกรรมร่วมกันสนับสนุนครอบครัว เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวสามารถพัฒนาและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม มีความรู้ ทักษะ และการสนับสนุนที่เพียงพอในการดูแลซึ่งกันและกัน รวมถึงการเสริมสร้างความรัก ความผูกพัน และความเข้าใจภายในครอบครัว อันจะเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาสังคมที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืนจากข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ในตำบลบูกิตที่เริ่มฝากครรภ์ ตั้งแต่1 ตุลาคม 2567 ถึง ปัจจุบัน (เดือน มิถุนายน 2568) มีจำนวนทั้งหมด 158 คน โดยแยกเป็น รพสต.ไอสะเตียร์จำนวน55 คนรพสต. บูกิต จำนวน54 รายรพสต. ปีแนมูดอ จำนวน43 ราย อบต.บูกิตได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพดีทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติด้านจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณที่ดี จึ่งร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต จัดทำโครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิตประจำปี 2568 ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเตรียมประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง
- เพื่อให้หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ
- อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 1,2,3,9,14
- อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 4,5,8,13
- อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 6,7,10,11,12
- แกนนำสุขภาพติดตามพฤติกรรมครอบครัวสุขภาพดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 198 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
แกนนำสุขภาพ | 42 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง
- หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
- แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเตรียมประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง |
240.00 | 192.00 |
|
|
2 | เพื่อให้หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี |
14.00 | 14.00 |
|
|
3 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของแกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี |
42.00 | 25.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 240 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 198 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
แกนนำสุขภาพ | 42 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเตรียมประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัว ให้เป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง (2) เพื่อให้หมู่บ้านมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี (3) เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความพร้อมในการส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น สุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ (2) อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 1,2,3,9,14 (3) อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 4,5,8,13 (4) อบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 6,7,10,11,12 (5) แกนนำสุขภาพติดตามพฤติกรรมครอบครัวสุขภาพดี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-03-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปารีดะ แก้วกรด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......