กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568 ”
ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสิปปวิชญ์ หน่อทองแดง




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5170-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5170-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 ธันวาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทย ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่ 1 มกราคม - 18 กันยายน 2567 พบผู้ป่วยสะสม จำนวน 79,689 ราย (รายงานเพิ่มขึ้น 2,704 ราย) อัตราป่วย 120.15 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยเดือนกันยายน พ.ศ.2567 มีจำนวนผู้ป่วยน้อยกว่า ปี พ.ศ.2566 จำนวน4.04 เท่า และน้อยกว่า ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี พ.ศ.2562-2566) 1.51 เท่า (ดังรูปที่2) จังหวัดที่มีอัตราป่วยสะสม 5 อันดับแรกคือจังหวัดเชียงราย จังหวัดภูเก็ต จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดน่าน และจังหวัดลำพูน ตามลำดับ อัตราป่วยสูงสุดอยู่ในกลุ่ม5-14 ปี อายุ 15-24 ปี และอายุ 0-4ปี ตามลำดับ ผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยัน จำนวน 63 รายอัตราป่วยตามร้อยละ 0.08 ส่วนใหญ่ผู้เสียชีวิตอายุอยู่ระหว่าง >65 ปีขึ้นไป ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ไปรักษาช้า มีภาวะอ้วน มีโรคประจำตัว และมีประวัติได้รับยา NSIAD ตามลำดับ   จากรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกรายหมู่บ้านพื้นที่อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่1 มกราคม -31 ตุลาคม 2567 พบผู้ป่วยทั้งหมด 35 ราย ในพื้นที่ตำบลควนโสข้อมูงอัตราการเกิดโรคย้อนหลัง 3 ปี (65)ไม่พบผู้ป่วย ใน ปี(66) พบผ้ป่วย จำนวน 10 ราย และไม่มีผู้เสียชีวิต ปี (67) พบผ้ป่วย 7 ราย (เขต รพ.สต.ควนโส 1 ราย) (เขต รพ.สต.บ้านกลาง 6 ราย) ซึ่งการควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือจากชุมชน โรงเรียน ศาสนสถานณ์ องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง   ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์และป้องกันการระบาดของโรคที่มีการระบาด ในปีงบประมาณ 2568 อาศัยอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลควนโส พ.ศ.25637 และที่แก้ไขเพิ่มเติ่มจนถึง (ฉบับที่ 7 ) พ.ศ.2562 มารา 67 (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลควนโส จึงกำหนดจัดทำโครงการควบคมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
  2. 2.เพื่อสร้างความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน ได้แก่ บ้าน วัด และโรงเรียน
  3. 3.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน
  4. 4.เพื่อควบคุมและป้องกันการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568
  2. กิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดย อบต.ควนโส -/รพ.สต.บ้านควนโส/รพ.สต.บ้านกลาง/ผู้นำชุมชน/กลุ่ม อสม.ฯลฯ
  3. กิจกรรมการกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย
  4. กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านเคมีภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนในพื้นที่ มีความร้ในการป้องกันและควบคมโรคไข้เลือดออก

 

2 2.เพื่อสร้างความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน ได้แก่ บ้าน วัด และโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของหมู่บ้านที่สำรวจมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI< 10

 

3 3.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

 

4 4.เพื่อควบคุมและป้องกันการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม (2) 2.เพื่อสร้างความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน ได้แก่ บ้าน วัด และโรงเรียน (3) 3.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน (4) 4.เพื่อควบคุมและป้องกันการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568 (2) กิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดย อบต.ควนโส -/รพ.สต.บ้านควนโส/รพ.สต.บ้านกลาง/ผู้นำชุมชน/กลุ่ม อสม.ฯลฯ (3) กิจกรรมการกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย (4) กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านเคมีภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5170-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิปปวิชญ์ หน่อทองแดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด