โครงการเยี่ยมเสริมพลังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเยี่ยมเสริมพลังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3059-2-3 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพสต.มะนังดาลำ |
วันที่อนุมัติ | 10 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 45,950.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพสต.มะนังดาลำ |
พี่เลี้ยงโครงการ | อัสมิน หะยีนิเงาะ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.649,101.599place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 7 พ.ค. 2568 | 7 พ.ค. 2568 | 45,950.00 | |||
รวมงบประมาณ | 45,950.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารหรือพลังงานในปริมาณที่ไม่เหมาะสม โดยครอบคลุมทั้งภาวะโภชนาการต่ำหรือภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ ซึ่งอาจส่งผลให้มีน้ำหนักตัวน้อยหรือรู้สึกอ่อนเพลียตลอดเวลา และภาวะโภชนาการเกินหรือภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารในปริมาณที่มากเกินไปจนทำให้เกิดภาวะอ้วน ทั้งนี้ ภาวะทุพโภชนาการอาจส่งผลต่อทั้งสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ และการใช้ชีวิตประจำวันของผู้ป่วย ดังนั้น ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลควรใส่ใจสังเกตอาการผิดปกติและเข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสม
จากผลการดำเนินงาน ติดตามอย่างต่อเนื่องของอาสาสมัครสาธารณสุข ตั้งแต่ ปี 2565-2567 สถานการณ์ด้านภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก โดยร้อยละของเด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วนในแต่ละปีเพิ่มขึ้นตามลำดับ เริ่มตั้งแต่ 54.17, 51.33 และ 73.20 ซึ่งต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 66 นั้น ถือว่าการดำเนินงานในการติดตามกลุ่มดังกล่าวมีแนวโน้มดีขึ้นตามลำดับ ซึ่งการเฝ้าระวังติดตามภาวะทุพโภชนาการยังคงต้องดำเนินงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเนื่องจากกลุ่มอายุในแต่ละวัยของเด็กมีการเปลี่ยนแปลงทุกปี การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการที่ยังคงต้องฟื้นฟูความรู้และกระตุ้นโน้มนาวผู้ปกครองในการใส่ใจและเข้าใจการดูแลลูกในวัย 0-5 ปี อย่างต่อเนื่องนั้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เยี่ยมเสริมพลังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก(1 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 45,950.00 | |||||
รวม | 45,950.00 |
1 เยี่ยมเสริมพลังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 170 | 45,950.00 | 0 | 0.00 | 45,950.00 | |
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | เยี่ยมเสริมพลังติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก | 170 | 45,950.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 170 | 45,950.00 | 0 | 0.00 | 45,950.00 |
ผู้ปกครองมีความพึงพอใจ และสามารถปรับเมนูอาหารได้เหมาะสมตามวัยโดยใช้วัตถุดิบที่หาง่ายในพื้น และเด็กมีแนวโน้มของภาวะโภชนาการดีขึ้นหลังดำเนินการ นำสู่การสร้างผู้ปกครองต้นแบบ ที่สามารถเป็นแบบอย่างและส่งต่อความรู้ให้คนในชุมชนต่อไปได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2568 15:49 น.