โครงการเครือข่าย บวร.ร. ร่วมใจป้องกันภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเครือข่าย บวร.ร. ร่วมใจป้องกันภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3314-01-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหานโพธิ์ |
วันที่อนุมัติ | 28 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 35,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสันติ จีนะสอน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.525,100.145place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของประชาชน ประกอบด้วย อาหาร ยา เครื่องสำอาง อาหารเสริม เป็นต้น แม้ว่าภาครัฐจะมีมาตรการควบคุมคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์เหล่านั่น ให้มีความปลอดภัยต่อผู้โภค แต่มักมีรายงาน การฝ่าฝืนกฎหมายของผู้ประกอบอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้ง การบังคับใช้กฎหมายยังไม่ดีเท่าที่ควร จึงทำให้สารอันตราย สารห้ามใช้ตกผู้บริโภค สอดคล้องกับอุบัติการณ์ของโรค และภาวะขาดพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นกับคนไทย ซึ่งล้วนมีความเกี่ยวเนื่องกับพิษภัย และผลกระทบจากสารอันตรายหรือสารห้ามใช้ทั้งสิ้น ในสังคมปัจจุบัน การโฆษณาชวนเชื่อ การให้ข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือนความจริง และไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสื่อสังคมออนไลน์ที่ไม่มีการควบคุม มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการเป็นอย่างมาก ประกอบกับการดำเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของราชการยังไม่สามารถให้การการคุ้มครองได้ทั่วถึงและเพียงพอ จึงทำให้บริโภคอาจตกเป็นเหยื่อและได้รับอัรตรายจากการอุปโภคและยริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค โดยเน้นการสร้างความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองของชุมชน จะทำให้เกิดความยั่งยืน และสามารถปิดจุอ่อนของภาครัฐที่ไม่สามารถให้การคุ้มครองได้ทั่วถึง โดยบ้าน วัด โรงเรียน และโรงพยาบาล(รพ.สต.) ร่วมมือกันดำเนินงานทั้งเฝ้าระวัง ต่างช่วยกันเป็นหูเป็นตา เป็นกระบอกเสียงถ่ายทอดความรู้ และช่วยเตือนภัย ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชนทุกคน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหานโพธิ์ คำนึงถึงผลกระทบของการบริโภคผลตภัณฑ์สุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการฯ นี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ อสม. แกนนำนักเรียน ครู นักเรียน พระกรรมการวัด มีความเข้าใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถใช้ชุดทดสอบอาหารได้อย่างถูกต้อง ร้อยละของผู้ที่ผ่านการอบรมที่มีความรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับดี |
||
2 | 2. เพื่อสำรวจเฝ้าระวังการการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ร้อยละของผู้ที่ผ่านการอบรมสามารถใช้ชุดทดสอบอาหารได้อย่างถูกต้อง |
||
3 | 3. เพื่อสุ่มตรวจประเมินอาหาร วัดระดับโซเดียมและหาสารปนเปื้อนในอาหาร ร้อยละของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจอยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อผู้โภค |
- ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ
- มีระบบการสื่อสารแจ้งเตือนภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ค. 2568 10:27 น.