กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลสะดาวา ประจำปี 2568 ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลสะดาวา




ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลสะดาวา ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3035 -2568 – 03 - 004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลสะดาวา ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลสะดาวา ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลสะดาวา ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 -2568 – 03 - 004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,277.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลให้ความสำคัญกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่องโดยพบว่าประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจาก 4 ล้านคน (ร้อยละ 6.8) ในปี 2537 เป็น 10 ล้านคน (ร้อยละ 14.9) ในปี 2557 และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในปี 2583 กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่าเป็นกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคมร้อยละ 79 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านติดเตียง จำเป็นต้องสนับสนุนบริการด้านสุขภาพและสังคม รัฐบาลมุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านติดเตียง โดยมีเป้าหมายสำคัญคือทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงมีการเจ็บป่วยต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม โดยทีมสหวิชาชีพในระดับปฐมภูมิซึ่งจัดบริการดูแลสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและท้องถิ่น เพื่อรองรับการดำเนินงานการจัดระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) แบบบูรณาการในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา คณะอนุกรรมการ LTC คณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ Cg/CM องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา เป็นบุคคลในการประสานร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน ที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ สร้างจิตสำนึกร่วมกันเป็นเจ้าของและร่วมกันบริหารจัดการกองทุน
    องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา มีผู้ป่วยในพื้นที่ที่เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 32 ราย ซึ่งควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษจึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงขึ้น ประจำปี 2568 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้, เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย ให้มีกำลังใจในการดูแลผู้ป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้
  2. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย ให้มีกำลังใจในการดูแลผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สามารถฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้ 2. สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย ให้มีกำลังใจในการดูแลผู้ป่วย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ให้การดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

     

    2 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย ให้มีกำลังใจในการดูแลผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด : ผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลที่ทั่วถึง และมีแบบแผน คิดเป็นร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้ (2) เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย ให้มีกำลังใจในการดูแลผู้ป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลสะดาวา ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L3035 -2568 – 03 - 004

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลสะดาวา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด