โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแลผู้สูงอายุ
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแลผู้สูงอายุ |
รหัสโครงการ | 68-L1544-01-009 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหาดสำราญ |
วันที่อนุมัติ | 17 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 13 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 8,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวรากร ปากอ่อน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.256,99.552place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การเยี่ยมบ้านกลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียง เป็นการบริการด้านสุขภาพในเชิงรุกอีกวิธีหนึ่ง เป็นกลวิธีที่มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน ซึ่งยังเป็นปัญหาในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย และจิตใจ การเยี่ยมบ้านเป็นการค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนและทำความเข้าใจกับสภาพปัญหานั้น เพื่อที่จะหาแนวทางแก้ไขให้เหมาะกับวิถีของชุมชน การเยี่ยมบ้านกลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียง ถือว่าเป็นการประเมินสุขภาพของประชาชนและการป้องกันโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวบุคคล และการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะโรคแรกซ้อนของการที่จะเกิดโรคขึ้นมาใหม่และเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจในการให้บริการสาธารณสุขประกอบด้วย กิจกรรมหลักคือ การสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหาดสำราญ จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลหาดสำราญ ประจำปี ๒๕๖8 ขึ้นเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจดูแลผู้ป่วยกลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียง และสามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาสุขภาพอนามัย ขั้นพื้นฐานได้และเพื่อให้ประชาชนมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้นในการดูแลตนเองควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ เป็นผลให้ประชากรมีสุขภาพดีขึ้นทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 2.มีภาคีเครือข่ายตำบล การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงที่เข้มแข็ง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ค. 2568 15:13 น.