โครงการ สวยใส ไร้พิษภัย ใช้เครื่องสำอางอย่างรู้เท่าทัน ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ สวยใส ไร้พิษภัย ใช้เครื่องสำอางอย่างรู้เท่าทัน ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L4166-2-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 7 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 7 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 44,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.52,101.451place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงกการ สถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับเครื่องสำอางพบว่ามีเครื่องสำอางหลากหลายประเภท ทั้งประเภทที่มีการผลิตและจำหน่ายในประเทศไทย รวมถึงประเภทที่มีการผลิตและนำเข้าจากต่างประเทศ เครื่องสำอางเหล่านี้มีทั้งชนิดปลอดภัย และไม่ปลอดภัย เครื่องสำอางชนิดที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ เครื่องสำอางที่มีฉลากเครื่องสำอางที่ไม่ถูกต้อง เครื่องสำอางที่ไม่มีเลขจดแจ้ง หรือเครื่องสำอางที่จดแจ้งไม่ตรงตามข้อมูลจริง เพราะไม่ได้ผ่านการจดแจ้ง รายละเอียดเครื่องสำอางจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ( อย) เครื่องสำอางเหล่านี้ส่งผลต่อความปลอดภัยผู้บริโภค เพราะอาจมีการลักลอบผสมสารอันตรายห้ามใช้ ได้แก่ สารปรอท/แอมโมเนียไฮโดรควิโนน กรดวิตามินเอและสเตียรอยด์เวลานานในเครื่องสำอาง อันตรายจากการใช้เครื่องสำอางที่มีสารปรอท/แอมโมเนียเป็นเป็นเวลานานส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดภาวะผิวหน้าดำ ผิวบางลง เกิดพิษสะสมของสารปรอททำให้ทางเดินปัสสาวะและไตอักเสบ ทำให้มีการสะสมปรอทในผิวหนัง และดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิต ทำให้ตับและไตผิดปกติ อันตรายจากการใช้เครื่องสำอางที่มีสารไฮโดรควิโนนเป็นเวลาทำให้เกิดฝ้าถาวรที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ อันตรายจากการใช้เครื่องสำอางที่มีกรดวิตามินเอเป็นเวลานานส่งผลทำให้ผิวหน้าอักเสบ ลอกอย่างรุนแรง และทำให้ทารกพิการได้ส่วนอันตรายจากการใช้เครื่องสำอางที่มีสารสเตียรอยด์ผสมอยู่จะส่งผลทำให้ผิวหน้าบางลงหน้าแดง และเห็นเส้นเลือดฝอยชัดเจน บางครั้งอาจเป็นตุ่มหนอง เล็กๆ ผื่นแพ้ และสิวจากสเตียรอยด์ ซึ่งรักษาให้หายยาก ดังนั้น กลุ่มเยาวชนและสตรี ม.2 บ้านแย๊ะ จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การใช้เครื่องสำอางไร้สเตียรอยด์ในกลุ่มเยาวชนและสตรี ประจำปี 2568 เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอาง และประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการผลิตภัณฑ์เครื่งสำอาง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางร้อยละ100 |
||
2 | 2.เพื่อให้ความรู้ประชาชนได้รับการทดลองตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้เป็นประจำ ประชาชนได้รับการทดลองตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้เป้นประจำ ร้อยละ100 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อบรมเชิงปฏิบัติการ “รู้เท่าทันสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง”(7 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 25,100.00 | |||||
2 | กิจกรรมทดสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจโดยใช้เครื่องมือตรวจด้วยตนเอง(7 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 19,600.00 | |||||
รวม | 44,700.00 |
1 อบรมเชิงปฏิบัติการ “รู้เท่าทันสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง” | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 100 | 25,100.00 | 0 | 0.00 | 25,100.00 | |
7 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมเชิงปฏิบัติการ “รู้เท่าทันสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง” | 100 | 25,100.00 | - | - | ||
2 กิจกรรมทดสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจโดยใช้เครื่องมือตรวจด้วยตนเอง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 100 | 19,600.00 | 0 | 0.00 | 19,600.00 | |
7 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมทดสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจโดยใช้เครื่องมือตรวจด้วยตนเอง | 100 | 19,600.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 200 | 44,700.00 | 0 | 0.00 | 44,700.00 |
1.ประชาชนได้รับความรู้และความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 2.ประชาชนได้รับการทดลองผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้เป็นประจำ 3.ประชาชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการเลือกซื้อและมีวิธีการสังเกตผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2568 10:25 น.