โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3314-01-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหานโพธิ์ |
วันที่อนุมัติ | 28 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 39,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสันติ จีนะสอน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.525,100.145place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 72 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 359 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 1725 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 910 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี ซึ่งมียุงลุาย (Aedes aegypti และ Aedes albopictus ) ที่เป็นตัวพาหะนำเชื้อจากผู้ป่วยไปสู่ผู้ที่ยังไม่เคยติดเชื้อมาก่อน และเมื่อติดเชื่้อแล้วผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต ในปัจจุบันโรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในหลายพื้นที่ โดยการแพร่กระจายของโรคมักเกิดในพื้นที่ที่มีการสะสมของน้ำขัง เช่น ในย่านที่อยู่อาศัยหรือในเขตเมืองที่มีการสะสมของสิ่งของที่สามารถเป็นแหล่งเพาะพันธ์ของยุงได้ง่าย เช่น ขวด กระป๋อง ถังน้ำ หรือแม้แต่ดินน้ำขัง โดยเฉพาะในเขตร้อนหรือเขตที่มีฝนตกชุกในช่วงฤดูฝน การระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะในด้านสุขภาพเท่านั่น แต่ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาว เนื่องจากการรักษาผู้ป่วยต้องใช้งบประมาณ และทรัพยากรบุคคลในการดูแลและรักษาผู็ป่วยเป็นจำนวนมากอีกทั้งยังทำให้ผลผลิตทางเศรษฐกิจลดลง การควบคุมยุงลายถือเป็นมาตรการสำคัญและจำเป็น เพราะนอกจากจะป้องกันการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกแล้ว ยังสามารถป้องกันการติดเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลายได้โดย ทั้งนี้ ต้องทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ทั้งฤดูก่อนก่อนการระบาด และช่วงที่มีการระบาด นอกจากนี้ในช่วงที่มีการระบาดยังต้องอาศัยชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อจำกัดการแพร่ระบาดและทำให้โรคสงบโดยเร็ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหานโพธิ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วมีความรู้และทักษะในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ร้อยละของชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วมีความรู้และทักษะในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อยู่ในระดับดี |
||
2 | 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน โรงเรียน วัด หน่วยงานราชการและอกชน ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI ไม่เกิน 10 ค่า CI=0) |
||
3 | 3.เพื่อกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย กรณีที่มีการระบาด ร้อยละของกรณีที่มีการระบาดที่สามารถดำเนินการพ่นเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย ได้ทันเวลาตามมาตรการ 3-3-1 |
||
4 | 3.เพื่อกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย กรณีที่มีการระบาด ร้อยละของกรณีที่มีการระบาดที่สามารถดำเนินการพ่นเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย ได้ทันเวลาตามมาตรการ 3-3-1 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- จัดอบรมชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว
- รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
- สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายจำนวน 4 ครั้ง
- พ้นเพื่อกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย (กรณีที่มีการระบาด)
- ลดอัตราป่วย และอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
- ลกอัตราป่วย และอัตราป่วยตายด้วยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
- ลดอัตราป่วย และอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุณกุนยา)
- การจัดการขยะในครัวเรือนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2568 10:28 น.