กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม. ”
ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสมหมาย สายละมุล




ชื่อโครงการ โครงการ NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม.

ที่อยู่ ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3314-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม. จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หานโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม.



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3314-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หานโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์กลุ่มโรคติดต่อเรื้อรัง (์Non-communicable disease: NCDs) เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศทั้งในมิติของการเสียชีวิตและภาระโรค โดยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง เป็นต้น สาเหตุหลักของโรคกลุ่มนี้เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการดำเนินชีวิตไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก การมีเครียดสูง การรับประทานยาไม่ปรึกษาแพทย์ เป็นต้น รัฐบาลมีนโยบายนำศักยภาพของของเครือข่ายสาธารณสุขทุกภาคส่วน รวมถึง อสม. ในการส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease:NCDs) ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของประเทศที่สามารถป้องกันได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมโดยจากงานวิจัยของกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ WHO ในปี 2562 ระบุว่า คนไทยเสียชีวิตด้วย NCDs ปีละกว่า 400000 ราย และสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจกว่า 1.6 ล้านล้านบาทต่อปี หรือร้อยละ 9.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ โดยเป็นค่ารักษาพยาบาลทางตรง 1.39 แสนล้านบาท และความสูญเสียทางอ้อมอีก 1.5 ล้านล้านบาท จึงจำเป็นที่จะต้องแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน ชมรม อสม. หานโพธิ์ ซึ่งเป็นเครื่อข่ายภาคประชาชน มีสามชิกจำนวน 90 คน รับผิดชอบครอบคลุม 5 หมู่บ้านของตำบลหานโพธิ์ มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาศักยภาพในการการส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรค NCDs เชิงรุก โดยการให้ความรู้ สร้างความตระหนักจนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รวมถึงเป็นผู้ประสานความร่วมมือกับภาคี เครือข่ายในฐานะหมอคนที่ 1 เพื่อช่วยให้คนไทยห่างไกลโรคและภัยสุขภาพ ลดอัตราป่วยด้วยโรค NCDs ก่อนเข้าสู่ระบบการรักษา ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับโรค NCDs แก่ อสม.
  2. 2. เพื่อให้ อสม. ได้เชิญชวนประชาชนนับคาร์บ ร่วมกันวางแผนรับประทานอาหารเพื่อควบคุมกำจัดการบริโภคคาร์โบไฮเดรต
  3. 3. เพื่อให้ อสม. คัดกรอง NCDs โดยใช้แอปพลิเคชั่น "สมาร์ท อสม." และให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรค NCDs
  4. 4. เพื่อให้ อสม. เยี่ยมบ้านผู้ป่วย NCDs เพื่อแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลกบริโภคเค็ม โดยใช้เครื่องวัดโซเดียม (salt meter)
  5. 5. เพื่อจัดตั้ง health station ประจำหมู่บ้านให้เป็นจุดคัดกรองและให้ความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs แก่ประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 1,725
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 859
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ลดผู้ป่วยโรค NCDs
    2. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถขยายเครือข่ายเพื่อการแก้ไขปัญหาโรค NCDs ได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับโรค NCDs แก่ อสม.
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมมีความรู้ในระดับดี

     

    2 2. เพื่อให้ อสม. ได้เชิญชวนประชาชนนับคาร์บ ร่วมกันวางแผนรับประทานอาหารเพื่อควบคุมกำจัดการบริโภคคาร์โบไฮเดรต
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 15-59 ปี ที่ อสม.ให้คำแนะนำการนับคาร์บและการบริโภคคาร์โบไฮเดรต

     

    3 3. เพื่อให้ อสม. คัดกรอง NCDs โดยใช้แอปพลิเคชั่น "สมาร์ท อสม." และให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรค NCDs
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 15-59 ปี ที่ อสม.คัดกรอง NCDs

     

    4 4. เพื่อให้ อสม. เยี่ยมบ้านผู้ป่วย NCDs เพื่อแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลกบริโภคเค็ม โดยใช้เครื่องวัดโซเดียม (salt meter)
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วย NCDs ที่ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม.

     

    5 5. เพื่อจัดตั้ง health station ประจำหมู่บ้านให้เป็นจุดคัดกรองและให้ความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs แก่ประชาชน
    ตัวชี้วัด : จำนวน health atation ประจำหมู่บ้าน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2584
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 1,725
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 859
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับโรค NCDs แก่ อสม. (2) 2. เพื่อให้ อสม. ได้เชิญชวนประชาชนนับคาร์บ ร่วมกันวางแผนรับประทานอาหารเพื่อควบคุมกำจัดการบริโภคคาร์โบไฮเดรต (3) 3. เพื่อให้ อสม. คัดกรอง NCDs โดยใช้แอปพลิเคชั่น "สมาร์ท อสม." และให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรค NCDs (4) 4. เพื่อให้ อสม. เยี่ยมบ้านผู้ป่วย NCDs เพื่อแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลกบริโภคเค็ม โดยใช้เครื่องวัดโซเดียม (salt meter) (5) 5. เพื่อจัดตั้ง health station ประจำหมู่บ้านให้เป็นจุดคัดกรองและให้ความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs แก่ประชาชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม. จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 68-L3314-02-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมหมาย สายละมุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด