กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง ”
ตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางจิรนันต์ แสงจันทร์




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง

ที่อยู่ ตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5239-1-01 เลขที่ข้อตกลง 16

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดีหลวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5239-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดีหลวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ เนื่องจากเป็นโรคที่พบได้บ่อยและมักเกิดขึ้นโดยไม่ร๔้ตัว นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและพบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่น การบริโรคอาหาร การออกกำลังกาย ความเครียด การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่ม Metabolic Syndrome ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น เนื่องจากโรคดังกล่าวไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ผู้ป่วยต้องรักษาตัวอย่างต่อเนื่อง ทำให้ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลค่อนข้างสูง จากข้อมูลขอโรคพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง ในปี 2567 เป้าหมายประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (ไม่รวมผู้ป่วย) ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 1,254 คน ไม่รับการตรวจคัดกรอง จำนวน 1,142 คน ร้อยละ 91.07 ผลปกติ จำนวน 950 คน ร้อยละ 83.19 เสี่ยง 83.19 เสี่ยง จำนวน 154 คน ร้อยละ 13.49 สงสัยป่วย จำนวน 38 คน ร้อยละ 3.33 และเป้าหมายประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป(ไม่รวมผู้ป่วย) ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 1,081 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน 969 คน ร้อยละ 89.64 ผลปกติ จำนวน 781 คน ร้อยละ 80.60 เสี่ยง จำนวน 56 คน ร้อยละ 5.78 เสี่ยงสูง จำนวน 132 คน ร้อยละ 13.62 ซึ่งจากการคัดกรองพบว่ากลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีจำนวนมาก และกลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูง/สงสัยป่วย จากการตรวจคัดกรองจำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคตามหลัก 3อ. 2ส. อย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบการติดตามให้ความรู้รายบุลคล การอบรมเป็นรายบุคคล การอบรมเป็นรายกลุ่ม โดยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย รวมทั้งการติดตามผลของระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตและของกลุ่มเสี่ยงหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจึงมีความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูง/ส่งสัยป่วย จากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้ป่าวโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ส่งผลให้ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยรวมลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูง/ส่งสัยป่วย จากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูง/สงสัยป่วย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. มากกว่าร้อยละ 70

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูง/ส่งสัยป่วย จากการตรวจคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีหลวง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 68-L5239-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจิรนันต์ แสงจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด