ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ”
ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายจิระวัฒน์ รัตนชล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5246 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
บทคัดย่อ
โครงการ " ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5246 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเราอยู่ในโลกโซเชียลและข่าวสารที่หมุนไว คนส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับสื่อออนไลน์มากขึ้นทำให้คุยกับครอบครัวและคนรอบข้างน้อยลง เกิดปัญหาทางจิตใจทั้งความเหงา ความโดดเดี่ยว คนรู้สึกไม่เชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างกัน เป็นผลเสียต่อสุขภาพโดยตรง สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ สังคมไทยกำลังเข้าสู่ภาวะที่คนรู้สึกโดดเดี่ยวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างชัดเจน อาจนำไปสู่พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น เสี่ยงป่วยโรควิตกกังวล ซึมเศร้า และสมองเสื่อม ข้อมูลของศูนย์โรคซึมเศร้าไทย กรมสุขภาพจิต ยังระบุว่า คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าถึง 1.5 ล้านคน โดยผู้ป่วยจำนวน 100 คน สามารถเข้าถึงการรักษาเพียง 28 คนเท่านั้น และทำให้คนไทยกว่า 70 เปอร์เซ็นต์เสียชีวิตก่อนวัยอันควร (กรมสุขภาพจิต, 2565)
คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑ บ้านสองพี่น้อง จกการสำรวจกลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน โดยการประเมินตามแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า พบว่าผู้มีความเสี่ยง (2Q ≥1) จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และติมตามประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม คณะกรรมการหมู่บ้านเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการสนับสนุนให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการส่งเสริมดูแลสุขภาพจิต จึงได้จัดทำโครงการ “ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘” ซึ่งมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อและให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพและการจัดการด้านอารมณ์ และดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างสมาธิและเพิ่มคุณค่าให้กับตนเองด้วยการฝึกสานตะกร้าด้วยเชือกมัดฟาง ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ช่วยกระตุ้นสมอง ปรับระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียดให้รู้สึกผ่อนคลาย
ลดความเครียด ลดภาวะวิตกกังวล ลดระดับความซึมเศร้าได้ และกิจกรรมดังกล่าวยังส่งเสริมให้ประชาชนได้พบปะพูดคุยมีกิจกรรมร่วมกัน ประชาชนสามารถประเมินระดับความเครียด ระดับความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ด้วยตนเองได้ สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้ผ่อนคลายความเครียดโดยการสานตะกร้าในยามว่าง ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี นำไปสู่การมีสุขภาพกายดี และสุขภาพสังคมที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และสามารถจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้
- เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่า และฝึกสมาธิ ให้กับตนเอง
- เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าและฝึกสมาธิให้กับตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1
- กิจกรรมที่ 2
- อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์
- อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการฟัง การพูด การสื่อสาร เพื่อสร้างคุณค่าและปรับความคิดของตนเอง
๒. กลุ่มเป้าหมายรับรู้เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์จัดการอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้ และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้
๓. กลุ่มเป้าหมายเกิดความภาคภูมิใจ ตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและเกิดมุมมองต่อการใช้ชีวิตในเชิงบวก
๔. กิจกรรมที่ดำเนินการช่วยชะลอความเสื่อมทางสมอง เพิ่มไหวพริบความจำ การมีสติ และการจัดการกับสิ่งต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์
วันที่ 14 มิถุนายน 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ ดำเนินการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2568 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยวิทยากร นางสาวนริษา สวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ปฏิบัติงาน/รับผิดชอบงานวัคซีน เด็ก และผู้ป่วยจิตเวช)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 91.2 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ มัดเล็ก มัดใหญ่ การดูแลสุขภาพ และการจัดการอารมณ์
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการออกกำลังกายด้วยตนเองที่สามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์และจัดการอารมณ์เบื้องต้นได้
25
0
2. อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์
วันที่ 14 มิถุนายน 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ ดำเนินการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2568 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยวิทยากร นางสาวนริษา สวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ปฏิบัติงาน/รับผิดชอบงานวัคซีน เด็ก และผู้ป่วยจิตเวช)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 91.2 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ มัดเล็ก มัดใหญ่ การดูแลสุขภาพ และการจัดการอารมณ์
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการออกกำลังกายด้วยตนเองที่สามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์และจัดการอารมณ์เบื้องต้นได้
25
0
3. อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง
วันที่ 14 มิถุนายน 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง เพื่อส่งเสริมการใช้ประสารทส่วนปลายในผู้สูงอายุ ฝึกการสร้างเสริมความจำและการส่งเสริมที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม รวมถึงการสร้างเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าในตนเอง ผ่อนคลายความเครียดทั้งในผู้สูงอายุและประชาชน โดยมีการดำเนินการจำนวนทั้งสิ้นเป็นระยะเวลา 3 วัน ดังนี้
- วันที่ 14 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น.
- วันที่ 15 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น.
- วันที่ 16 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น.
โดยวิทยากร นางอนงค์ กำเหนิดทอง ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติการทำตะกร้าโดยใช้ประสาทส่วนปลาย และเสริมสร้างความจำป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้สึกมีคุณค่าภูมิใจในตนเอง มีสมาธิ รู้สึกผ่อนคลาย รวมไปถึงสามารถลดการเกิดภาวะโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้อีกด้วย (วัดจากแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม 2Q หลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้น)
25
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ ดำเนินการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2568 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยวิทยากร นางสาวนริษา สวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ปฏิบัติงาน/รับผิดชอบงานวัคซีน เด็ก และผู้ป่วยจิตเวช) ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้
1. ร้อยละ 91.2 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ มัดเล็ก มัดใหญ่ การดูแลสุขภาพ และการจัดการอารมณ์
2. ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการออกกำลังกายด้วยตนเองที่สามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้
3. ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์และจัดการอารมณ์เบื้องต้นได้
กิจกรรมที่ 2 อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง เพื่อส่งเสริมการใช้ประสารทส่วนปลายในผู้สูงอายุ ฝึกการสร้างเสริมความจำและการส่งเสริมที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม รวมถึงการสร้างเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าในตนเอง ผ่อนคลายความเครียดทั้งในผู้สูงอายุและประชาชน โดยมีการดำเนินการจำนวนทั้งสิ้นเป็นระยะเวลา 3 วัน ดังนี้
- วันที่ 14 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น.
- วันที่ 15 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น.
- วันที่ 16 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น.
โดยวิทยากร นางอนงค์ กำเหนิดทอง ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติการทำตะกร้าโดยใช้ประสาทส่วนปลาย และเสริมสร้างความจำป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการรู้สึกมีคุณค่าภูมิใจในตนเอง มีสมาธิ รู้สึกผ่อนคลาย รวมไปถึงสามารถลดการเกิดภาวะโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้อีกด้วย (วัดจากแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม 2Q หลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้น)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และสามารถจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพและสามารถจัดการกับอารมณ์ความเครียดได้
91.20
2
เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่า และฝึกสมาธิ ให้กับตนเอง
ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรม ฝึกสมาธิ ส่งเสริมการสร้างคุณค่าให้ตนเอง โดยประชาชนทำตะกร้าเป็น
3
เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าและฝึกสมาธิให้กับตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเกิดกิจกรรมฝึกสมาธิส่งเสริมการสร้างคุณค่าให้ตนเอง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
25
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และสามารถจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้ (2) เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่า และฝึกสมาธิ ให้กับตนเอง (3) เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าและฝึกสมาธิให้กับตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 2 (3) อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ (4) อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5246
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจิระวัฒน์ รัตนชล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ”
ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายจิระวัฒน์ รัตนชล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5246 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
บทคัดย่อ
โครงการ " ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5246 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเราอยู่ในโลกโซเชียลและข่าวสารที่หมุนไว คนส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับสื่อออนไลน์มากขึ้นทำให้คุยกับครอบครัวและคนรอบข้างน้อยลง เกิดปัญหาทางจิตใจทั้งความเหงา ความโดดเดี่ยว คนรู้สึกไม่เชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างกัน เป็นผลเสียต่อสุขภาพโดยตรง สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ สังคมไทยกำลังเข้าสู่ภาวะที่คนรู้สึกโดดเดี่ยวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างชัดเจน อาจนำไปสู่พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น เสี่ยงป่วยโรควิตกกังวล ซึมเศร้า และสมองเสื่อม ข้อมูลของศูนย์โรคซึมเศร้าไทย กรมสุขภาพจิต ยังระบุว่า คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าถึง 1.5 ล้านคน โดยผู้ป่วยจำนวน 100 คน สามารถเข้าถึงการรักษาเพียง 28 คนเท่านั้น และทำให้คนไทยกว่า 70 เปอร์เซ็นต์เสียชีวิตก่อนวัยอันควร (กรมสุขภาพจิต, 2565)
คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑ บ้านสองพี่น้อง จกการสำรวจกลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน โดยการประเมินตามแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า พบว่าผู้มีความเสี่ยง (2Q ≥1) จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และติมตามประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม คณะกรรมการหมู่บ้านเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการสนับสนุนให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการส่งเสริมดูแลสุขภาพจิต จึงได้จัดทำโครงการ “ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘” ซึ่งมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อและให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพและการจัดการด้านอารมณ์ และดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างสมาธิและเพิ่มคุณค่าให้กับตนเองด้วยการฝึกสานตะกร้าด้วยเชือกมัดฟาง ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ช่วยกระตุ้นสมอง ปรับระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียดให้รู้สึกผ่อนคลาย
ลดความเครียด ลดภาวะวิตกกังวล ลดระดับความซึมเศร้าได้ และกิจกรรมดังกล่าวยังส่งเสริมให้ประชาชนได้พบปะพูดคุยมีกิจกรรมร่วมกัน ประชาชนสามารถประเมินระดับความเครียด ระดับความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ด้วยตนเองได้ สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้ผ่อนคลายความเครียดโดยการสานตะกร้าในยามว่าง ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี นำไปสู่การมีสุขภาพกายดี และสุขภาพสังคมที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และสามารถจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้
- เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่า และฝึกสมาธิ ให้กับตนเอง
- เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าและฝึกสมาธิให้กับตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1
- กิจกรรมที่ 2
- อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์
- อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ใช้ทักษะการฟัง การพูด การสื่อสาร เพื่อสร้างคุณค่าและปรับความคิดของตนเอง ๒. กลุ่มเป้าหมายรับรู้เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์จัดการอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้ และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้ ๓. กลุ่มเป้าหมายเกิดความภาคภูมิใจ ตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและเกิดมุมมองต่อการใช้ชีวิตในเชิงบวก ๔. กิจกรรมที่ดำเนินการช่วยชะลอความเสื่อมทางสมอง เพิ่มไหวพริบความจำ การมีสติ และการจัดการกับสิ่งต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ ดำเนินการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2568 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยวิทยากร นางสาวนริษา สวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ปฏิบัติงาน/รับผิดชอบงานวัคซีน เด็ก และผู้ป่วยจิตเวช) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
25 | 0 |
2. อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ ดำเนินการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2568 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยวิทยากร นางสาวนริษา สวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ปฏิบัติงาน/รับผิดชอบงานวัคซีน เด็ก และผู้ป่วยจิตเวช) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
25 | 0 |
3. อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง เพื่อส่งเสริมการใช้ประสารทส่วนปลายในผู้สูงอายุ ฝึกการสร้างเสริมความจำและการส่งเสริมที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม รวมถึงการสร้างเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าในตนเอง ผ่อนคลายความเครียดทั้งในผู้สูงอายุและประชาชน โดยมีการดำเนินการจำนวนทั้งสิ้นเป็นระยะเวลา 3 วัน ดังนี้ - วันที่ 14 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น. - วันที่ 15 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น. - วันที่ 16 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น. โดยวิทยากร นางอนงค์ กำเหนิดทอง ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
25 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ ดำเนินการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2568 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยวิทยากร นางสาวนริษา สวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ปฏิบัติงาน/รับผิดชอบงานวัคซีน เด็ก และผู้ป่วยจิตเวช) ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ 1. ร้อยละ 91.2 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ มัดเล็ก มัดใหญ่ การดูแลสุขภาพ และการจัดการอารมณ์ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการออกกำลังกายด้วยตนเองที่สามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได้ 3. ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์และจัดการอารมณ์เบื้องต้นได้
กิจกรรมที่ 2 อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง เพื่อส่งเสริมการใช้ประสารทส่วนปลายในผู้สูงอายุ ฝึกการสร้างเสริมความจำและการส่งเสริมที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม รวมถึงการสร้างเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างคุณค่าในตนเอง ผ่อนคลายความเครียดทั้งในผู้สูงอายุและประชาชน โดยมีการดำเนินการจำนวนทั้งสิ้นเป็นระยะเวลา 3 วัน ดังนี้ - วันที่ 14 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น. - วันที่ 15 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น. - วันที่ 16 มิถุนายน 2568 ดำเนินการตั้งแต่ช่วงเวลา 08.45 น. – 16.15 น. โดยวิทยากร นางอนงค์ กำเหนิดทอง ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติการทำตะกร้าโดยใช้ประสาทส่วนปลาย และเสริมสร้างความจำป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้ - ผู้เข้าร่วมโครงการรู้สึกมีคุณค่าภูมิใจในตนเอง มีสมาธิ รู้สึกผ่อนคลาย รวมไปถึงสามารถลดการเกิดภาวะโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้อีกด้วย (วัดจากแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม 2Q หลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้น)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และสามารถจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพและสามารถจัดการกับอารมณ์ความเครียดได้ |
91.20 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่า และฝึกสมาธิ ให้กับตนเอง ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรม ฝึกสมาธิ ส่งเสริมการสร้างคุณค่าให้ตนเอง โดยประชาชนทำตะกร้าเป็น |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าและฝึกสมาธิให้กับตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเกิดกิจกรรมฝึกสมาธิส่งเสริมการสร้างคุณค่าให้ตนเอง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | 25 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | 25 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และสามารถจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขสงบกับตนเองได้ (2) เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่า และฝึกสมาธิ ให้กับตนเอง (3) เพื่อให้ประชาชนเกิดคุณค่าในตนเองด้วยการส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าและฝึกสมาธิให้กับตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 2 (3) อบรมเชิงปฏิบัติการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์ (4) อบรมและฝึกปฏิบัติการสานตะกร้าเชือกมัดฟาง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ประชาชนสุขใจ ใส่ใจสุขภาพ สร้างคุณค่าให้ตนเอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5246
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจิระวัฒน์ รัตนชล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......