โครงการโภชนาการดี สู่พัฒนาการสมวัย ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการโภชนาการดี สู่พัฒนาการสมวัย ปี 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านรังมดแดง |
วันที่อนุมัติ | 21 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 15,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางซูไฮบะห์ เจะมะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.597,101.701place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 117 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรส าคัญที่จะเติบโตเป็นก าลังส าคัญของชาติในอนาคต การจะท าให้เด็กเติบโตอย่าง มี
คุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย มีความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ ปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลง
ในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องได้รับการเกื้อหนุน ส่งเสริม จากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัย
สภาพแวดล้อม ระบบบริการ และปัจจัยที่ส าคัญอย่างยิ่งคือตัวมารดาเอง ควรมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการและ
การส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่สามารถท าอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กรับประทาน และสามารถส่งเสริมให้บุตรมี
พัฒนาการตามวัยได้ ผู้ปกครองจึงต้องมีการสร้างนิสัยในการบริโภคอาหารที่ถูกต้องให้กับเด็ก ตั้งแต่เด็กๆ เพื่อฝึกนิสัย
การรับประทานอาหารที่ถูกต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก เป้าหมายส าคัญของการพัฒนาประเทศ เพื่อให้เด็กมี
สุขภาวะ ทั้งทางกาย ใจ สังคม และปัญญา โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กเป็นวัยที่มีความส าคัญ เนื่องจากเป็นวัย
ที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็น
พื้นฐานของช่วงวัยต่อไป
ปัญหาในการด าเนินส่งเสริมสุขภาพเด็ก พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการที่
สงสัยล่าช้า โดยผลการด าเนินงาน ปี 2567 พบเด็กผอม ร้อยละ 13.08 เด็กอ้วน ร้อยละ 4.67 เด็กเตี้ยร้อยละ
๑0.56 ผลการคัดกรองพัฒนาการพบว่า สมวัย ร้อยละ ๖๘.๔๒ ล่าช้า ร้อยละ 12.16 ซึ่งอาจส่งผลต่อพัฒนาการ
ทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จ าเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่
สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนากการและพัฒนาการเด็กในสถานพยาบาล และการ
ด าเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไป
ได้ สิ่งส าคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านรังมดแดง จึงได้จัดท าโครงการโภชนาการดีสู่
พัฒนาการสมวัย ปี 2558 ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ
พัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก 0-5 ปีสู่พัฒนาการสมวัย
|
||
2 | 2. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการ สงสัยล่าช้า
|
||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการเด็ก 0-5 ปีสู่พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80
- เด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม ร้อยละ 100
- เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2568 10:06 น.