โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมูณา ฮามิดง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L8411-01-68-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L8411-01-68-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน สังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยสัดส่วนจำนวนประชาชนวัยทำงานและวัยเด็กลดลง โครงสร้างประชากรที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสังคมที่เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging society) โดยเมื่อถึงวัยสูงอายุสภาพร่างกาย และจิตใจมีการเปลี่ยนแปลง ต้องมีการปรับตัวและที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้นสภาพร่างกายเริ่มเสื่อมลงตามไปด้วย
ดวงตาเป็นอวัยวะที่สำคัญมากในการดำรงชีวิต ไม่ว่าบุคคลจะทำกิจกรรมใดๆ ในชีวิตประจำวันก็ต้องอาศัยการมองเห็นจากดวงตาทั้งสิ้น หากดวงตาของบุคคลใด มีปัญหาก็ย่อมส่งผลให้การดำเนินชีวิตนั้น ประสบอุปสรรคเช่นกัน การมองเห็นไม่ชัดเจน ถือว่าเป็นปัญหาทางสายตาด้านหนึ่งที่ควรแก้ไข ผู้ที่มองภาพไม่ชัดเจน ในระยะใกล้ เรียกว่า สายตายาว ซึ่งมักจะพบเมื่อมีอายุมากกว่า 40 ปีหรือพบในผู้สูงอายุ เกิดจากการที่เลนส์แก้วตาแข็งขึ้น ความยืดหยุ่นน้อยลงตามอายุที่มากขึ้น ประกอบกับกล้ามเนื้อตาเสื่อมสภาพตามวัย อ่อนล้าลง ทำให้เลนส์แก้วตาไม่สามารถปรับตัวให้พองขึ้นหรือแบนลงเพื่อช่วยในการโฟกัสภาพได้เหมือนเดิมจึงไม่สามารถมองเห็นภาพในระยะใกล้ได้ชัดเจน ปัญหาที่เกิดขึ้นแก้ไขได้หลายวิธี ผู้ที่มีปัญหาทางสายตาอาจใส่แว่นหรือ คอนเทคเลนส์เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ดังนั้นการดูแลรักษาที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตาจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และสำคัญมากสำหรับมนุษย์ทุกคน การมีปัญหาทางสายตาอาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ เช่น การพลัดตกหกล้มโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ
จำนวนผู้สูงอายุในอำเภอบันนังสตา มีประมาณ 6,301 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มกราคม 2568) และผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ มีจำนวน 947 คน ข้อมูลจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกม.26 และบ้านทำนบในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ซึ่งจากข้อมูลผลการประเมินและคัดกรองสายตาเบื้องต้นจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน กม.26 และบ้านทำนบตำบลตาเนาะปูเต๊ะ พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็นทั้งต้อกระจก ต้อหิน ความเสื่อมของจอประสาทตา สายตายาว มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตาและมีความประสงค์เข้าร่วมโครงการเพื่อรับการตรวจเพื่อวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาสายตา จำนวน 60 คน ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขได้ด้วยการสวมใส่แว่นตาที่เหมาะสม ตลอดจนผู้สูงอายุบางคนควรได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติเพื่อส่งต่อให้ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างเหมาะสม ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเล็งเห็นถึงความสำคัญถึงเรื่องปัญหาสายตาในผู้สูงอายุในพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหา
อุปสรรคต่อการใช้ชีวิตประจำวันอย่างปกติสุข ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ได้กำหนดไว้ว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จึงได้เสนอจัดทำโครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพตาผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยการตรวจวัดสายตา เพื่อประกอบแว่นสายตาที่เหมาะสมให้กับผู้สูงอายุเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนด้านสุขภาพสายตาของผู้สูงอายุ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินสุขภาพสายตาแก่ผู้สูงอายุและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตาของผู้สูงอายุ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาอย่างถูกต้อง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการแก้ไขการประกอบแว่นตาที่เหมาะสมกับสุขภาพตาผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการถนอมและการดูแลสายตาในผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.1 ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะได้รับการประเมินสุขภาพสายตาและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตา
9.2 ผู้สูงอายุได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการดูแลสุขภาพดวงตา
9.3 ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาสามารถแก้ไขด้วยการสวมใส่แว่นสายตาได้รับการตัดแว่นประกอบสายตาได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประเมินสุขภาพสายตาแก่ผู้สูงอายุและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตาของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการแก้ไขการประกอบแว่นตาที่เหมาะสมกับสุขภาพตาผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินสุขภาพสายตาแก่ผู้สูงอายุและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตาของผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาอย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการแก้ไขการประกอบแว่นตาที่เหมาะสมกับสุขภาพตาผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการถนอมและการดูแลสายตาในผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L8411-01-68-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมูณา ฮามิดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมูณา ฮามิดง
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L8411-01-68-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L8411-01-68-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน สังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยสัดส่วนจำนวนประชาชนวัยทำงานและวัยเด็กลดลง โครงสร้างประชากรที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสังคมที่เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging society) โดยเมื่อถึงวัยสูงอายุสภาพร่างกาย และจิตใจมีการเปลี่ยนแปลง ต้องมีการปรับตัวและที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้นสภาพร่างกายเริ่มเสื่อมลงตามไปด้วย
ดวงตาเป็นอวัยวะที่สำคัญมากในการดำรงชีวิต ไม่ว่าบุคคลจะทำกิจกรรมใดๆ ในชีวิตประจำวันก็ต้องอาศัยการมองเห็นจากดวงตาทั้งสิ้น หากดวงตาของบุคคลใด มีปัญหาก็ย่อมส่งผลให้การดำเนินชีวิตนั้น ประสบอุปสรรคเช่นกัน การมองเห็นไม่ชัดเจน ถือว่าเป็นปัญหาทางสายตาด้านหนึ่งที่ควรแก้ไข ผู้ที่มองภาพไม่ชัดเจน ในระยะใกล้ เรียกว่า สายตายาว ซึ่งมักจะพบเมื่อมีอายุมากกว่า 40 ปีหรือพบในผู้สูงอายุ เกิดจากการที่เลนส์แก้วตาแข็งขึ้น ความยืดหยุ่นน้อยลงตามอายุที่มากขึ้น ประกอบกับกล้ามเนื้อตาเสื่อมสภาพตามวัย อ่อนล้าลง ทำให้เลนส์แก้วตาไม่สามารถปรับตัวให้พองขึ้นหรือแบนลงเพื่อช่วยในการโฟกัสภาพได้เหมือนเดิมจึงไม่สามารถมองเห็นภาพในระยะใกล้ได้ชัดเจน ปัญหาที่เกิดขึ้นแก้ไขได้หลายวิธี ผู้ที่มีปัญหาทางสายตาอาจใส่แว่นหรือ คอนเทคเลนส์เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ดังนั้นการดูแลรักษาที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตาจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และสำคัญมากสำหรับมนุษย์ทุกคน การมีปัญหาทางสายตาอาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ เช่น การพลัดตกหกล้มโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ
จำนวนผู้สูงอายุในอำเภอบันนังสตา มีประมาณ 6,301 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มกราคม 2568) และผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ มีจำนวน 947 คน ข้อมูลจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกม.26 และบ้านทำนบในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ซึ่งจากข้อมูลผลการประเมินและคัดกรองสายตาเบื้องต้นจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน กม.26 และบ้านทำนบตำบลตาเนาะปูเต๊ะ พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็นทั้งต้อกระจก ต้อหิน ความเสื่อมของจอประสาทตา สายตายาว มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตาและมีความประสงค์เข้าร่วมโครงการเพื่อรับการตรวจเพื่อวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาสายตา จำนวน 60 คน ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขได้ด้วยการสวมใส่แว่นตาที่เหมาะสม ตลอดจนผู้สูงอายุบางคนควรได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติเพื่อส่งต่อให้ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างเหมาะสม ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเล็งเห็นถึงความสำคัญถึงเรื่องปัญหาสายตาในผู้สูงอายุในพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหา
อุปสรรคต่อการใช้ชีวิตประจำวันอย่างปกติสุข ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ได้กำหนดไว้ว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จึงได้เสนอจัดทำโครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพตาผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยการตรวจวัดสายตา เพื่อประกอบแว่นสายตาที่เหมาะสมให้กับผู้สูงอายุเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนด้านสุขภาพสายตาของผู้สูงอายุ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินสุขภาพสายตาแก่ผู้สูงอายุและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตาของผู้สูงอายุ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาอย่างถูกต้อง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการแก้ไขการประกอบแว่นตาที่เหมาะสมกับสุขภาพตาผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการถนอมและการดูแลสายตาในผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.1 ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะได้รับการประเมินสุขภาพสายตาและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตา 9.2 ผู้สูงอายุได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการดูแลสุขภาพดวงตา 9.3 ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาสามารถแก้ไขด้วยการสวมใส่แว่นสายตาได้รับการตัดแว่นประกอบสายตาได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินสุขภาพสายตาแก่ผู้สูงอายุและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตาของผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการแก้ไขการประกอบแว่นตาที่เหมาะสมกับสุขภาพตาผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินสุขภาพสายตาแก่ผู้สูงอายุและตรวจคัดกรองความผิดปกติด้านสายตาของผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาอย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการแก้ไขการประกอบแว่นตาที่เหมาะสมกับสุขภาพตาผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการถนอมและการดูแลสายตาในผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแว่นตาใส สายตาดี ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ L8411-01-68-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมูณา ฮามิดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......