โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางนลินี ขุนล่ำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2516-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2516-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อหมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่ออาจสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้ โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหาร หรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อนั้นๆ มีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว สู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด เมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่น แสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้น และจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัดและการป้องการที่ได้มาตรฐาน เพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้น โรคหัดก็เป็นโรคติดต่ออีกโรคหนึ่ง ที่มีลักษณะอาการเด่นของโรค คือ ไข้ ออกผื่น พบได้ทุกวัย และพบได้บ่อยในเด็กเล็ก อายุ 1 - 6 ปี เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งพบได้ในจมูกและลำคอของผู้ป่วย ติดต่อกันได้ง่ายมาก โดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะกระจายอยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย และเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศเมื่อหายใจเอาละอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเข้าไป ก็ทำให้เป็นโรคได้ ถ้าไม่มีภูมิต้านทาน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน นอกจากนี้โรคหัดยังอาจทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จากข้อมูลสถานการณ์โรคหัดในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2566 - เดือนกันยายน พ.ศ. 2567 พบผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 12 ราย คิดเป็นอัตรา 7,058.82 ต่อแสนประชากร และในปีงบประมาณ 2568 ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2568 - เดือนธันวาคม พ.ศ.2568 พบผู้ป่วยทั้งหมด 2 ราย คิดเป็นอัตรา 1,176.47 ต่อแสนประชากร
ในการนี้ ทางโรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลสาวอ จึงได้มีการจัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในชุมชน ตลอดจนประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ประชาชนทุกคน ทุกครอบครัว นำเด็กที่มีอายุ 9 เดือน ถึง 5 ปี ไปรับการฉีดวัคซีนเพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรค ตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชนและเด็กให้มีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีและมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดได้ครบตามเกณฑ์วัคซีน
- พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการให้บุตรหลานมารับวัคซีนเพิ่มขึ้น
- เครือข่ายในชุมชน ได้แก่ ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตาดีกา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาเด็กปฐมวัยได้รับวัคซีน
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวกและเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรค
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- เครือข่ายทุกภาคส่วนในชุมชน มีความเข้าใจที่ถูกต้องและมีส่วนร่วมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2516-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนลินี ขุนล่ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางนลินี ขุนล่ำ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2516-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2516-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อหมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่ออาจสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้ โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหาร หรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อนั้นๆ มีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว สู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด เมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่น แสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้น และจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัดและการป้องการที่ได้มาตรฐาน เพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้น โรคหัดก็เป็นโรคติดต่ออีกโรคหนึ่ง ที่มีลักษณะอาการเด่นของโรค คือ ไข้ ออกผื่น พบได้ทุกวัย และพบได้บ่อยในเด็กเล็ก อายุ 1 - 6 ปี เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งพบได้ในจมูกและลำคอของผู้ป่วย ติดต่อกันได้ง่ายมาก โดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะกระจายอยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย และเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศเมื่อหายใจเอาละอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเข้าไป ก็ทำให้เป็นโรคได้ ถ้าไม่มีภูมิต้านทาน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน นอกจากนี้โรคหัดยังอาจทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จากข้อมูลสถานการณ์โรคหัดในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2566 - เดือนกันยายน พ.ศ. 2567 พบผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 12 ราย คิดเป็นอัตรา 7,058.82 ต่อแสนประชากร และในปีงบประมาณ 2568 ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2568 - เดือนธันวาคม พ.ศ.2568 พบผู้ป่วยทั้งหมด 2 ราย คิดเป็นอัตรา 1,176.47 ต่อแสนประชากร ในการนี้ ทางโรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลสาวอ จึงได้มีการจัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในชุมชน ตลอดจนประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ประชาชนทุกคน ทุกครอบครัว นำเด็กที่มีอายุ 9 เดือน ถึง 5 ปี ไปรับการฉีดวัคซีนเพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรค ตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชนและเด็กให้มีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีและมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดได้ครบตามเกณฑ์วัคซีน
- พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการให้บุตรหลานมารับวัคซีนเพิ่มขึ้น
- เครือข่ายในชุมชน ได้แก่ ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตาดีกา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาเด็กปฐมวัยได้รับวัคซีน
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวกและเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรค
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- เครือข่ายทุกภาคส่วนในชุมชน มีความเข้าใจที่ถูกต้องและมีส่วนร่วมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคหัดในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2516-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนลินี ขุนล่ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......