โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ ”
ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจะยาวารียะห์ ลาเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 - L8426 - 1 - 17 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68 - L8426 - 1 - 17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มจะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการ และเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลง จึงทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทำให้นักระบาดวิทยาต้องดำเนินการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อเฝ้าระวังโรคที่เป็นปัญหาตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และไตวายเรื้อรัง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพลำดับต้น ๆ ของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนขึ้นทุกปี
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังตำบลตันหยงลิมอ จากสถิติการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ พบว่ามีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งในปีงบประมาณปี 2567 นี้ พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 487 ราย
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จึงได้ดำเนินจัดทำโครงการ ปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ เพื่อดำเนินโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของประชากรตำบลตันหยงลิมอต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้ป่วย
- อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
- ผู้ดูแลผู้ป่วยป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการมีส่วนร่วมดูแลผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้ถูกต้องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรค และวิธีการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ ๘๐
80.00
2
ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่เข้าร่วมอบรมมีภาวะแทรกซ้อน ติดเตียง แผลกดทับและปัญหาหลอดเลือด เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ ๑๐
8.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง (2) ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้ป่วย (2) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 - L8426 - 1 - 17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวเจะยาวารียะห์ ลาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ ”
ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจะยาวารียะห์ ลาเต๊ะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 - L8426 - 1 - 17 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68 - L8426 - 1 - 17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มจะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการ และเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลง จึงทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทำให้นักระบาดวิทยาต้องดำเนินการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อเฝ้าระวังโรคที่เป็นปัญหาตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และไตวายเรื้อรัง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพลำดับต้น ๆ ของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนขึ้นทุกปี
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังตำบลตันหยงลิมอ จากสถิติการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ พบว่ามีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งในปีงบประมาณปี 2567 นี้ พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 487 ราย
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จึงได้ดำเนินจัดทำโครงการ ปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ เพื่อดำเนินโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของประชากรตำบลตันหยงลิมอต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้ป่วย
- อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
- ผู้ดูแลผู้ป่วยป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการมีส่วนร่วมดูแลผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้ถูกต้องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรค และวิธีการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ ๘๐ |
80.00 |
|
||
2 | ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่เข้าร่วมอบรมมีภาวะแทรกซ้อน ติดเตียง แผลกดทับและปัญหาหลอดเลือด เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ ๑๐ |
8.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง (2) ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ดีไม่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้ป่วย (2) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนป้องกัน DM สู่ BBC (Bedsore Bedridden and CVA) ประจำปี ๒๕๖๘ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 - L8426 - 1 - 17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวเจะยาวารียะห์ ลาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......