โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจัลวาตีย์ โต๊ะประดู่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5292-02-04 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5292-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาการแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ บัญญัติให้ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขนั้นการส่งเสริมสุขภาพจึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญเพราะการมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ที่ผู้อื่นไม่สามารถหยิบยื่นให้ได้ จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องแสวงหาและสร้างเสริมให้เกิดกับตนเอง พร้อมทั้งสามารถช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้อื่น ที่อยู่ใกล้ชิดได้ด้วยการปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นสุขนิสัย การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีสุขภาพดีจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง การกระตุ้นปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านสุขภาพแก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียน เป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่เหมาะสม เอาใจใส่ตนเอง มีพลานามัยสมบูรณ์ รักสะอาด ปราศจากโรคปลอดทุกข์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ภายใต้การดำเนินงานตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ร่วมคิด ร่วมดำเนินการตามแผนกิจกรรมที่กำหนดนำไปสู่การเรียนรู้ในการสร้างสุขภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี อันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของชุมชนในที่สุด
โรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนให้ได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก อันนำไปสู่การพัฒนาครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. .เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัย และการคัดแยกขยะ 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ 4. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี เหมาะสมกับวัย และมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 5. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
28
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- นักเรียนสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาพที่ดีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. .เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัย และการคัดแยกขยะ 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ 4. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี เหมาะสมกับวัย และมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 5. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
28
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
28
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. .เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัย และการคัดแยกขยะ 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ 4. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี เหมาะสมกับวัย และมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 5. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5292-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจัลวาตีย์ โต๊ะประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจัลวาตีย์ โต๊ะประดู่
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5292-02-04 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5292-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาการแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ บัญญัติให้ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขนั้นการส่งเสริมสุขภาพจึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญเพราะการมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ที่ผู้อื่นไม่สามารถหยิบยื่นให้ได้ จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องแสวงหาและสร้างเสริมให้เกิดกับตนเอง พร้อมทั้งสามารถช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้อื่น ที่อยู่ใกล้ชิดได้ด้วยการปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นสุขนิสัย การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีสุขภาพดีจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง การกระตุ้นปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านสุขภาพแก่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียน เป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่เหมาะสม เอาใจใส่ตนเอง มีพลานามัยสมบูรณ์ รักสะอาด ปราศจากโรคปลอดทุกข์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ภายใต้การดำเนินงานตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ร่วมคิด ร่วมดำเนินการตามแผนกิจกรรมที่กำหนดนำไปสู่การเรียนรู้ในการสร้างสุขภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี อันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของชุมชนในที่สุด โรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนให้ได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก อันนำไปสู่การพัฒนาครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. .เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัย และการคัดแยกขยะ 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ 4. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี เหมาะสมกับวัย และมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 5. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 28 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- นักเรียนสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาพที่ดีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. .เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัย และการคัดแยกขยะ 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ 4. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี เหมาะสมกับวัย และมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 5. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 28 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 28 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. .เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัย และการคัดแยกขยะ 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ 4. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายได้ถูกวิธี เหมาะสมกับวัย และมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 5. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ "อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งสะโบ๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5292-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจัลวาตีย์ โต๊ะประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......