โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
1.นายดำรงค์ นะยะอิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-2-10 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4153-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ เป็นโรคติดต่อที่ต้องมีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เพื่อป้องกันการเกิดการระบาดอย่างรวดเร็ว จนส่งผลกระทบที่ไม่สามารถควบคุมพื้นที่การระบาดและมีภาวะผู้ป่วยที่ร้ายแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง รองลงมาคือ ประชาชนทั่วไป วัยทำงาน ซึางยังคงพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องทุกปี จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และเน้นมาตรการเชิงรุกในชุมชน พร้อมสนับสนุนเวชภัณฑ์ป้องกันโรคไข้เลือดออดให้มีความพอเพียงและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
จากรายงานจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะที่ผ่านมา 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี 2565 พบรายงานผู้ป่วย จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 15.28 ต่อประชากรแสนคน และในปี 2566 จำนวน 8 ราย อัตราป่วย 128.45 ต่อประชากรแสนคน และในปี 2567 จำนวน 55 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 846.15 ต่อประชากรแสนคน จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว ทำให้มีโอกาสโรคระบาดซ้ำในปีนี้และปีถัดไป โดยมีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม บ้านเรือนติดกัน สิ่งแวดล้อมไม่สะอาด ซึ่งเอื้อต่อการทำให้เกิดไข้เลือดออกในชุมชนได้ ดังนั้นหากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคอย่างเหมาะสม กลุ่มชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกายูบอเกาะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดและปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงดำเนินการจัดโครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เป็นการสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนปลอดไข้เลือดออก เพื่อส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรคง์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมรณรงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ไม่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในลักษณะเป็นกลุ่มก้อนในชุมชน
2.ไม่พบพื้นที่ระบาดด้วยโรคไข้เลือดออกที่ไม่สามารถควบคุมการระบาดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 95
2
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 10
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรคง์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมรณรงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นายดำรงค์ นะยะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
1.นายดำรงค์ นะยะอิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-2-10 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4153-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ เป็นโรคติดต่อที่ต้องมีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เพื่อป้องกันการเกิดการระบาดอย่างรวดเร็ว จนส่งผลกระทบที่ไม่สามารถควบคุมพื้นที่การระบาดและมีภาวะผู้ป่วยที่ร้ายแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง รองลงมาคือ ประชาชนทั่วไป วัยทำงาน ซึางยังคงพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องทุกปี จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และเน้นมาตรการเชิงรุกในชุมชน พร้อมสนับสนุนเวชภัณฑ์ป้องกันโรคไข้เลือดออดให้มีความพอเพียงและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป จากรายงานจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะที่ผ่านมา 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี 2565 พบรายงานผู้ป่วย จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 15.28 ต่อประชากรแสนคน และในปี 2566 จำนวน 8 ราย อัตราป่วย 128.45 ต่อประชากรแสนคน และในปี 2567 จำนวน 55 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 846.15 ต่อประชากรแสนคน จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว ทำให้มีโอกาสโรคระบาดซ้ำในปีนี้และปีถัดไป โดยมีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม บ้านเรือนติดกัน สิ่งแวดล้อมไม่สะอาด ซึ่งเอื้อต่อการทำให้เกิดไข้เลือดออกในชุมชนได้ ดังนั้นหากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคอย่างเหมาะสม กลุ่มชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกายูบอเกาะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดและปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงดำเนินการจัดโครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เป็นการสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนปลอดไข้เลือดออก เพื่อส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรคง์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมรณรงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ไม่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในลักษณะเป็นกลุ่มก้อนในชุมชน 2.ไม่พบพื้นที่ระบาดด้วยโรคไข้เลือดออกที่ไม่สามารถควบคุมการระบาดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 95 |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 10 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรคง์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมรณรงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวกายูบอเกาะร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นายดำรงค์ นะยะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......