โครงการประชุมให้ความรู้เรื่องโรคฝีดาษวานร
ชื่อโครงการ | โครงการประชุมให้ความรู้เรื่องโรคฝีดาษวานร |
รหัสโครงการ | 4/2568 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลสทิงพระ |
วันที่อนุมัติ | 8 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 14,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางศิริลักษณ์ ช่วงมี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ปัจจุบันพบว่า โรคฝีดาษลิง โรคฝีดาษลิง หรือ โรคฝีดาษวานร (Monnkeypox Virus) เริ่มมีข่าวถึงการแพร่ระบาดมากขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก ทำให้หลายคนเริ่มมีข้อสงสัย และกังวลว่า โรคฝีดาษลิง หรือฝีดาษวานร คืออะไร สาเหตุโรคฝีดาษลิง เกิดจากอะไร อาการน่ากลัวไหม และมีความรุนแรงมากน้อยแค่ไหน เรามาทำความรู้จักโรคฝีดาษลิง โรคฝีดาษวานร (Monnkeypox Virus) เป็นโรคที่ใกล้เคียงกับโรคอีสุกอีใส หรือไข้ทรพิษ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่า ผู้ป่วยจะมีไข้ ร่วมกับมีตุ่มผื่นตุ่มหนองทั่วตัว และต่อมน้ำเหลืองโต ถือเป็นกลุ่มโรคที่ต้องเฝ้าระวัง เพราะฉะนั้นผู้ที่กลับจากแอฟริกา หรือสัมผัสกับสัตว์ป่าต่างถิ่น หากมีอาการดังกล่าว หรือพบอาการผิดปกติ โรคฝีดาษลิง หรือ โรคฝีดาษวานร (Monnkeypox Virus) เป็นโรคที่พบการระบาดครั้งแรกเมื่อ 60 ปีก่อน มีถิ่นกำเนิดในประเทศคองโก โดยพบการติดเชื้อของสัตว์ตระกูลลิงในห้องแล็ป นอกจากนี้ยังสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ในสัตว์ตระกูลฟันแทะ อย่าง หนู กระรอก กระต่าย เป็นโรคตระกูลเดียวกับฝีดาษที่เกิดขึ้นในคน หรือไข้ทรพิษ และบทเรียนจากการทีมีผู้ป่วยป่วยเป็นโรคในอำเภอสทิงพระ 1ราย ส่งผลกระทบกับชุมชน เพราะประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรค เช่นการไม่ให้เด็กทีเป็นญาติผู้ป่วยไม่ให้ไปโรงเรียน การถูกแยกออกจากชุมชน จึงจำเป้นต้องประชุมให้ความรู้กับชุมชนเพื่อให้มีความเข้าใจในเรื่องโรค ความเสี่ยง และการระบาดของโรค
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1เพื่อให้อสมและเครือข่ายมีให้ความรู้เรื่องให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขโรคฝีดาษวานรในกลุ่มเป้าหมาย อสม 55 คน ผู้ดูแลผู้ป่วย 1 คน ผู้นำชุมชนหรือผู้แทน 2 คน ทีมวิทยากร 2 คน รวม 60 คน 1.มีการประชุมให้ความรู้เรื่องให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขโรคฝีดาษวานรในกลุ่ม อสมและเครือข่าย 1ครั้ง ผลประเมินความรู้ได้มากกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | ข้อที่ 2. เพื่อให้ความรู้เรื่องให้ความรู้เรื่องโรคฝีดาษวานรให้กับประชาชนในหมู่บ้าน 4ครั้งและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรค 2.มีการให้ความรู้เรื่องให้ความรู้เรื่องโรคฝีดาษวานรให้กับประชาชนในหมู่บ้าน 4ครั้งและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | |
3 | ข้อที่ 3. เพื่อให้ชุมชนไม่ตื่นตระนกหากมีโรคฝีดาษวานรเกิดในพื้นที่และอสม.เครือข่ายทราบแนวทางการรายงานและการจัดการป้องกันและควบคุมโรค 3.ชุมชนไม่ตื่นตระนกหากมีโรคฝีดาษวานรเกิดในพื้นที่ อสม.เครือข่ายทราบแนวทางการรายงานและการจัดการป้องกันและควบคุมโรค |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 14,600.00 | 0 | 0.00 | |
??/??/???? | กิจกรรม ที่2 -จัดประชุมให้ความรู้เรื่องให้ความรู้เรื่องโรคฝีดาษวานรให้กับประชาชนในหมู่บ้าน 4 ครั้ง ตัวแทนหมู่บ้านละ 80 คน 4หมู่บ้าน จำนวน 320 คน สามารถ ถั่วเฉลี่ยกันได้ | 0 | 14,600.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2568 00:00 น.