โครงการร้านค้ามาตราฐาน ผู้ประกอบการใส่ใจ ห่วงใยผู้บริโภค
ชื่อโครงการ | โครงการร้านค้ามาตราฐาน ผู้ประกอบการใส่ใจ ห่วงใยผู้บริโภค |
รหัสโครงการ | 68-L7251-01-18 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อตรุ |
วันที่อนุมัติ | 15 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 30 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 16,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวทิพย์ภาภรณ์ เจิมขวัญ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปีงบประมาณ 2567 รพ.สต.บ่อตรุ ได้ดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภค ในการตรวจแนะนำร้านค้าในเขตตำบลบ่อตรุ พบการใช้เครื่องอุปโภคบริโภคที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง ที่ไม่ได้คุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน และยังจำหน่ายยาบางชนิดที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือก ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง ที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ ในชุมชนได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอาง ที่มีคุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยา แต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้
|
||
3 | เพื่อพัฒนาเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคให้ความรู้และสามารถให้คำแนะนำในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน และผู้ประกอบการได้
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
2.๑ ประชุมผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และภาคีเครือข่ายในการ คุ้มครองผู้บริโภค
2.๒ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ เรื่องอาหาร ยา เครื่องสำอาง แก่ผู้ประกอบการ และแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขงานคุ้มครองผู้บริโภค
2.๓ ภาคีเครือข่ายในงานคุ้มครองผู้บริโภค ออกตรวจประเมินร้านขายของชำเบื้องต้น และให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการ ครั้งที่1
2.4 ภาคีเครือข่ายในงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเมินติดตาม ร้านขายของชำที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ครั้งที่๒ 2.๕ จัดประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อวิทยุชุมชนในการให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน และการใส่ใจสุขภาพ
2.๖ สรุปผลการประเมินผล และติดตามร้านขายของชำมาตรฐานที่ผ่านเกณฑ์ และคืนข้อมูลให้แก่ร้านขายของชำ
๑ ผู้ประกอบการมีความรู้และสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร ที่มีคุณภาพ จำหน่ายในชุมชนได้
๒ ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาและสามารถเลือกจำหน่าย ยาสามัญประจำบ้านได้
๓ เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค สามารถให้ความรู้ และคำแนะนำในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชน และผู้ประกอบการได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2568 00:00 น.