กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางกรรณิการ์ ปานทอง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2568

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-68-1-9 เลขที่ข้อตกลง 28/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมอนามัยได้กำหนดยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพ 4 กลุ่มวัย มีเป้าประสงค์เพื่อให้เด็กวัยเรียนวัยรุ่นเข้มแข็ง แข็งแรง และฉลาด โดยกำหนดตัวชี้วัดเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ในปี พ.ศ. 2567 ร้อยละ 59 และเด็กอายุ 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ ในปี พ.ศ. 2567 เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงสูง 154 และ155 เซนติเมตร ตามลำดับ จากรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข ปี 2566 ยังพบเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 56.1 (เป้าหมาย ร้อยละ 57) ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 13.7 (เป้าหมาย ร้อยละ 10) ภาวะผอม ร้อยละ 5.1 (เป้าหมาย ร้อยละ 5) และภาวะเตี้ย ร้อยละ 10.1 (เป้าหมาย ร้อยละ 5) ส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กอายุ 12 ปี ชาย 148.6 เซนติเมตร (เป้าหมาย 148 เซนติเมตร) หญิง 149.4 เซนติเมตร (เป้าหมาย 149 เซนติเมตร) ตามลำดับ และจากมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 11 พฤษภาคม 2564 ได้รับข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน กรณีการบริหารจัดการโครงการอาหารกลางวันเด็กในประเด็นการขาดนักโภชนาการชุมชนครบในทุกท้องถิ่น ให้มีนักโภชนาการศูนย์อนามัยและนักโภชนาการในโรงพยาบาลในพื้นที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง รวมไปถึงการดำเนินการจัดทำแผนกำลังคนร่วมกัน ในการผลิตบัณฑิต แผนการพัฒนาบุคลากรและหลักสูตรการจัดการอาหารและโภชนาการชุมชนแบบครบวงจรเพื่อสุขภาวะของเด็ก การจัดทำคู่มือและพัฒนาหลักสูตรแก่ ครูโภชนาการที่รับผิดชอบอาหารกลางวัน นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ใน รพ.สต. การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพื่อให้มีทักษะให้เข้าถึงครอบครัวของเด็กวัยเรียน อีกทั้งส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ซึ่งทำงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมีความรู้ด้านโภชนาการจะช่วยทำให้เกิดทัศนคติและมีความตระหนักในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ เช่น การให้คำแนะนำการกินอาหารให้ได้คุณค่าทางโภชนาการ การลดน้ำหนักและBMI เป็นต้น การอบรมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับด้านโภชนาการ นอกจากจะช่วยเพิ่มความรู้ด้านโภชนาการให้แก่บุคลากรแล้ว ยังมีส่วนช่วยส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ได้แก่ การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ (Nutrition counseling) การจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก รวมไปถึงนโยบายการป้องกันเด็กอ้วนในโรงเรียน ต้องอาศัยครูที่ผ่านการฝึกอบรมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความรู้ด้านโภชนาการ เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมและส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมการกินอาหารที่เหมาะสม (healthy energy-balance related behaviors) เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จอีกด้วยซึ่งสอดคล้องกับผลการติดตามภาวะโภชนาการในวัยเรียนของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองขุดในเด็กอายุ  6-14 ปี ที่มี ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะสูงดี สมส่วนของปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 59.08 (เป้าหมายร้อยละ 61) ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10.9 (เป้าหมาย ร้อยละ 10) ภาวะผอม ร้อยละ 5.63 (เป้าหมาย ร้อยละ 5) และภาวะเตี้ย ร้อยละ 5.81 (เป้าหมาย ร้อยละ 5) ส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กอายุ 12 ปี ชาย 148.3เซนติเมตร (เป้าหมาย 148 เซนติเมตร) หญิง 149.7เซนติเมตร (เป้าหมาย 149 เซนติเมตร) การส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนให้บรรลุเป้าหมายได้นั้น จึงต้องดำเนินการแบบบูรณาการ ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพัฒนาความรอบรู้ของเด็กวัยเรียนอันจะนำไปสู่ การมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด(สาขา) จึงได้จัดทำโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖8

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 16
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. ร้อยละเด็กนักเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 61 2. มีคะแนนการทำแบบทดสอบหลังการอบรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 100 3. นักเรียนสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดกลุ่มกีฬาต่างๆในโรงเรียน ผลลัพธ์ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริโภคอาหารตามวัย และภาวะโภชนาการที่ดีสมวัยให้สมดุลกับการออกกำลังกาย ภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 90


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 16
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กนักเรียนตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-68-1-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรรณิการ์ ปานทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด