กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนบ้านนาปริก ”
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายสอหมาด มาลินี (ประธานกรรมการ) นางหยำ บินหมาน (กรรมการ) นางฝาตีม๊ะ แก้วคงศรี (กรรมการ)




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนบ้านนาปริก

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 14/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนบ้านนาปริก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนบ้านนาปริก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนบ้านนาปริก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,410.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญของระบบสุขภาพทั้งในระดับโลกและในระดับประเทศ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึง ร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตในระดับโลก และ ร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตในประชากรไทย ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร จากข้อมูลจำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ของกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข ย้อนหลัง 3 ปี (2565-2567) พบว่า ประเทศไทยมีอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากร 564.78 , 609.07 และ 644.11 อัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร มีจำนวน 1,165.79 , 1247.34 และ 1362.03 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า อัตราป่วยจากทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีอัตราที่เพิ่มขึ้นโดยตลอด สถานการณ์อัตราตายต่อแสนประชากร ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัดสตูล พบอุบัติการณ์การป่วยด้วยโรคโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกันโดยมี อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากร ย้อนหลัง 3 ปี (2565-2567) อยู่ที่ 413.75 , 477.71 และ 491.36 อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร ย้อนหลัง 3 ปี (2565-2567) อยู่ที่ 1006.36 , 1,317.85 และ 1361.43 ตามลำดับ และจากข้อมูลการคัดกรองประชาชนในจังหวัดสตูล พบว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่ได้รับการคัดกรอง แล้วพบความเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยว่าป่วย ย้อนหลังตั้งแต่ปี (2565-2567) มีข้อมูลเป็น ร้อยละ 14.48 , 24.00 , 26.74 และข้อมูลกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการคัดกรองแล้ว พบความเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยว่าป่วย ย้อนหลังตั้งแต่ปี (2565-2567)มีร้อยละ 15.13 ,23.27, 25.98 ซึ่งจากข้อมูลการคัดกรองสุขภาพประชาชนพบว่ากลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มที่จะถูกได้รับการวินิจฉัยให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น(รายงาน Health Data Center,2567) ในอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2565-2567 มีจำนวน 1,059 คน 1,097 คน , 1,252 คน ตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ปี 2565-2567 มีจำนวน 2,944 คน, 2,954 คน, 3,203คน ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า จำนวนผู้ป่วยจากทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีจำนวนที่เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ข้อมูลสถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน ตำบลควนควนโดน ปี 2565 – 2567 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 485 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวานย้อนหลัง 3 ปี( 2565-2567) มีจำนวนผู้ป่วย 407 คน,412คน และ481คน ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ย้อนหลัง 3 ปี (2565-2567) จำนวน 22 ,28 และ 28 ตามลำดับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 1,191 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ย้อนหลัง 3 ปี (2565-2567) ดังนี้ มีจำนวนผู้ป่วย 1,108 คน ,1,105คน และ1,191คน รายตามลำดับ (รายงาน Health Data Center,2567) จะเห็นได้ว่า อัตราป่วยจากทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีอัตราที่เพิ่มขึ้นโดยตลอด
จากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ของหมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ปี 2567 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง จำนวน 168 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 23.46 และพบกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ร้อยละ 40.23 ซึ่งกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 19 คน เป็นผู้ป่วยสงสัยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 6 คน สงต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค จำนวน1 ราย และกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน จำนวน 35 คน เป็นผู้ป่วยสงสัยโรคเบาหวานรายใหม่จำนวน 2 คน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของ ประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ และความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3 อ 2 ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม และมุ่งหวังให้กลุ่มเป้าหมายมีสถานะสุขภาพดีขึ้นและไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้การป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. กิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดนเพื่อการรักษาและวินิจฉัยที่ถูกต้องต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มประชาชนอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับความรู้ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้การป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) กิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชนบ้านนาปริก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสอหมาด มาลินี (ประธานกรรมการ) นางหยำ บินหมาน (กรรมการ) นางฝาตีม๊ะ แก้วคงศรี (กรรมการ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด