กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรม อย.น้อย คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ปี 2568
รหัสโครงการ 68-L3321-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง
วันที่อนุมัติ 28 พฤษภาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2568 - 30 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 8,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 - 13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2568 31 ส.ค. 2568 8,950.00
รวมงบประมาณ 8,950.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 63 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
40.62

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ ในวัยเรียนซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล จึงได้มีโครงการ อย.น้อยโดยนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้ เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนให้อย. น้อย มีการตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง ซึ่งเป็นโครงการที่เน้นการสร้างเครือข่ายชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (อย.น้อย) พัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ให้มีการรับรู้สิทธิผู้บริโภคและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม และมีการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชน เพื่อการพัฒนาต่อยอดด้านความรู้และเพิ่มนักเรียน อย.น้อย เพื่อดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งนักเรียน อย.น้อย จะมีการสับเปลี่ยน หมุนเวียนการทำหน้าที่ ทำให้การทำงานบ้างครั้งไม่ต่อเนื่อง เพราะขาดความรู้และทักษะที่จะนำไป ปฏิบัติ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตจึงได้จัดอบรม อย.น้อย คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ โดยเพิ่มความรู้และทักษะในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ อย.น้อย เพื่อช่วยให้โรงเรียนตลอดจนในชุมชนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้นักเรียน อย.น้อยได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว

ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ในเนื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว

20.02 90.00
2 เพื่อให้นักเรียนทำกิจกรรม อย.น้อย ไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน

ร้อยละของนักเรียนทำกิจกรรม    อย.น้อย ไปพัฒนา หรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน

31.02 90.00
3 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย. น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

ร้อยละของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ใน โรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

10.21 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68
1 จัดอบรมให้ความรู้(6 มิ.ย. 2568-6 มิ.ย. 2568) 8,950.00      
รวม 8,950.00
1 จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 63 8,950.00 0 0.00
1 ก.ค. 68 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และครอบครัว 63 8,950.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 ผู้เข้ารับการ อบรม อย.น้อยไปพัฒนา หรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน 8.2 ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะทางความคิดในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ และสินค้า 8.3 ผู้เข้าอบรมสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน และคนในครอบครัว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2568 08:18 น.