โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง ”
ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววิภา หมีนปาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง
ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-3-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3344-3-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กในวัย 2 - 4 ปี ธรรมชาติของเด็กจะเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งโดยปกติในช่วงเข้าที่สถานศึกษาจะมีกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้ทำการเคลือนไหวเข้าจังหวะประมาณ 20 นาที เพื่อทำให้ร่างกายของเด็กพร้อมที่จะเรียนหนังสือ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาร่างกายของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรง จึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยครจรจะเป็นผู้หากิจกรรมเล่นกับเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็น การทรงตัว การเดิน การวิ่ง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว ฯลฯ เพราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาทส่วนกลางกับกล้ามเนื้อส่งผลให้มือ เท้า ตา เคลื่อนไหว สัมพันธ์กันธรรมชาติของเด็กๆ อายุระหว่าง 2-4 ปี จะใช้ขาไถจักรยานก่อนที่จะใช้ขาปั่นจักรยาน ฉะนั้นจักรยานBAI ANCE RIKE จะมาแทนจักรยาน 3 ล้อและจักรยาบที่มี ล้อพ่วงข้าง ซึ่งเด็กจะมีความมั่นใจใจในการเล่นปราศจากความกลัว โดยให้เด็กใช้สองเท้าทั้งสองข้างยันพื้น และก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อมจักรยานด้วยตนเอง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้เด็กสามารถฝึกการทรงตัวได้อย่างถูกวิธีตั้งแต่แรกเริ่ม อีกทั้งยังช่วยเสริมทักษะ ด้านกีฬา ความคิด การมองเห็นการแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้า ศาสตร์สัมพันธุ์ของตา มือ-เท้า และ ซ้าย ขวา บน ล่าง การพัฒนาของกล้ามเนื้อฉนั้นจักรยานทรงตัว จึงเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับการเริ่มต้นของเด็ก ก่อนที่จะไปถึงการปั่นจักรยาน การเล่นจักรยานขาไถ BALANCE BIKE เด็กๆ จะได้รับเสริมทักษะและพัฒนาการคือ
1. การมองเห็นภาพ 3 มิติ เด็กๆ ที่เล่น BALANCE BIKE จะสามารถแยกแยะระยะทางใกล้ไกลได้ดีกว่าเด็กๆ ทั่วไปเพราะเด็กๆ ที่เล่นจะเดินได้เร็วกว่าเด็กๆ ที่เดิน หรือวิ่งปกติ จึงทำให้ประสาทการมองเห็นเร็วด้วยเช่นกัน
2. การมองเห็นสีและการแยกแยะสีต่างๆ รอบตัว เพราะเด็กๆ ที่ขี่จักรยานผ่านสีต่างๆ รอบตัวที่เร็วกว่า จึงแยกแยะสึได้ดีด้วยเช่นกัน
3. การขยับมือและแขน การขี่จักรยาน BALANCE BIKE จะต้องใช้มือในการบังคับทิศทางจึงทำให้ร่างกายท่อนบนกับมือและแขนได้ทำงานประสานกันข้อนี้พัฒนาการจะมาจากการที่เด็ก ๆ ได้ทำกิจจกรรรมอย่างอื่นไป
พร้อมๆกันด้วยการพัฒนากล้ามเนื้อมัดมัดเล็กและมัดใหญ่ของชาทั้งขาจนขึ้นมาถึงหลัง การเล่นจักรยานBALจะมีส่วนช่วยในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่มากที่สุดการยืนตัวตรง ส่งผลมาจากกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ที่แข็งแรงจึงทำให้การยืนและเดินตัวตัวตเด็ก ๆ มีบุคลิกที่ดี
ประกอบกับ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์เด็กเล็ก สังกักองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่แข็งแรง และจิตใจ อารมณ์ มีความเบิกบาน มีความกล้าหาญ มีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา รู้จักแพ้ รู้จักชนะ เคารพกฎระเบียบ กติกาด้วยกิจกรรมไถ Balance Bike เพราะช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ให้แข็งแรง เป็นการฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การแยกแยะสึ การประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง และการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กปรมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ
- เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาที่แข็งแรง
- เด็กมีความสุข สนุกและมีสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-3-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววิภา หมีนปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง ”
ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววิภา หมีนปาน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-3-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3344-3-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กในวัย 2 - 4 ปี ธรรมชาติของเด็กจะเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งโดยปกติในช่วงเข้าที่สถานศึกษาจะมีกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้ทำการเคลือนไหวเข้าจังหวะประมาณ 20 นาที เพื่อทำให้ร่างกายของเด็กพร้อมที่จะเรียนหนังสือ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาร่างกายของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรง จึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยครจรจะเป็นผู้หากิจกรรมเล่นกับเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็น การทรงตัว การเดิน การวิ่ง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว ฯลฯ เพราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาทส่วนกลางกับกล้ามเนื้อส่งผลให้มือ เท้า ตา เคลื่อนไหว สัมพันธ์กันธรรมชาติของเด็กๆ อายุระหว่าง 2-4 ปี จะใช้ขาไถจักรยานก่อนที่จะใช้ขาปั่นจักรยาน ฉะนั้นจักรยานBAI ANCE RIKE จะมาแทนจักรยาน 3 ล้อและจักรยาบที่มี ล้อพ่วงข้าง ซึ่งเด็กจะมีความมั่นใจใจในการเล่นปราศจากความกลัว โดยให้เด็กใช้สองเท้าทั้งสองข้างยันพื้น และก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อมจักรยานด้วยตนเอง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้เด็กสามารถฝึกการทรงตัวได้อย่างถูกวิธีตั้งแต่แรกเริ่ม อีกทั้งยังช่วยเสริมทักษะ ด้านกีฬา ความคิด การมองเห็นการแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้า ศาสตร์สัมพันธุ์ของตา มือ-เท้า และ ซ้าย ขวา บน ล่าง การพัฒนาของกล้ามเนื้อฉนั้นจักรยานทรงตัว จึงเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับการเริ่มต้นของเด็ก ก่อนที่จะไปถึงการปั่นจักรยาน การเล่นจักรยานขาไถ BALANCE BIKE เด็กๆ จะได้รับเสริมทักษะและพัฒนาการคือ 1. การมองเห็นภาพ 3 มิติ เด็กๆ ที่เล่น BALANCE BIKE จะสามารถแยกแยะระยะทางใกล้ไกลได้ดีกว่าเด็กๆ ทั่วไปเพราะเด็กๆ ที่เล่นจะเดินได้เร็วกว่าเด็กๆ ที่เดิน หรือวิ่งปกติ จึงทำให้ประสาทการมองเห็นเร็วด้วยเช่นกัน 2. การมองเห็นสีและการแยกแยะสีต่างๆ รอบตัว เพราะเด็กๆ ที่ขี่จักรยานผ่านสีต่างๆ รอบตัวที่เร็วกว่า จึงแยกแยะสึได้ดีด้วยเช่นกัน 3. การขยับมือและแขน การขี่จักรยาน BALANCE BIKE จะต้องใช้มือในการบังคับทิศทางจึงทำให้ร่างกายท่อนบนกับมือและแขนได้ทำงานประสานกันข้อนี้พัฒนาการจะมาจากการที่เด็ก ๆ ได้ทำกิจจกรรรมอย่างอื่นไป พร้อมๆกันด้วยการพัฒนากล้ามเนื้อมัดมัดเล็กและมัดใหญ่ของชาทั้งขาจนขึ้นมาถึงหลัง การเล่นจักรยานBALจะมีส่วนช่วยในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่มากที่สุดการยืนตัวตรง ส่งผลมาจากกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ที่แข็งแรงจึงทำให้การยืนและเดินตัวตัวตเด็ก ๆ มีบุคลิกที่ดี ประกอบกับ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์เด็กเล็ก สังกักองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่แข็งแรง และจิตใจ อารมณ์ มีความเบิกบาน มีความกล้าหาญ มีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา รู้จักแพ้ รู้จักชนะ เคารพกฎระเบียบ กติกาด้วยกิจกรรมไถ Balance Bike เพราะช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ทั้งการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ให้แข็งแรง เป็นการฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การแยกแยะสึ การประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง และการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กปรมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ
- เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาที่แข็งแรง
- เด็กมีความสุข สนุกและมีสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองธง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-3-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววิภา หมีนปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......