โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา ”
ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางโศรดา แขกพงศ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา
ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-2-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2568 ถึง 22 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3344-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2568 - 22 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงเป็นผลที่ทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ง่าย เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม ที่พบมากในผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม โรคจะดำเนินไปเรื่อย ๆ อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจหากผู้สูงอายุหรือผู้ที่เริ่มมีอาการข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ สามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอความเสื่อม หรือบรรเทาอาการของข้อเข่าเสื่อมได้ ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว แต่จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุนั้นมักมีข้อจำกัดในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำเป็นต้องได้รับการดูแลและช่วยเหลือเพื่อให้เขาเหล่านั้นได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดี หากได้รับการดูแลอย่าง ถูกต้องและสม่ำเสมอแล้ว ก็น่าเชื่อว่าน่าจะมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน ได้อย่างยืนยาวในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้นจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือตัวผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่รวมอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ให้ได้มีความรู้ความเข้าใจในงานสาธารณสุขโดยเฉพาะเรื่องของการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพการฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย ชมรมแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านหนองธงร่วมกับ
จิตอาสาที่ดูแลผู้สูงอายุ เห็นถึงความสำคัญของปัญหาต่างๆเหล่านี้จึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างระบบการดูแลรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อรองรับสถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่เน้นให้บริการรักษาตามแนวทางการแพทย์แผนไทยร่วมด้วย ดังนั้น ชมรมแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านหนองธง จึงได้จัดทำโครงการสูงวัยใส่ใจข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุข ประกอบด้วย กลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่า จำนวน 98 คน ที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดยจะจัดการอบรมจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุข เรื่องการดูแลผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อหวังที่จะให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้น ของผู้สูงอายุได้อย่างดีและเหมาะสมเพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง
๒. ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย
๓. ผู้สูงอายุได้รับการแก้ไขปัญหาจากชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-2-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโศรดา แขกพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา ”
ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางโศรดา แขกพงศ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-2-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2568 ถึง 22 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3344-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2568 - 22 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงเป็นผลที่ทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ง่าย เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม ที่พบมากในผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม โรคจะดำเนินไปเรื่อย ๆ อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจหากผู้สูงอายุหรือผู้ที่เริ่มมีอาการข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ สามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอความเสื่อม หรือบรรเทาอาการของข้อเข่าเสื่อมได้ ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว แต่จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุนั้นมักมีข้อจำกัดในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำเป็นต้องได้รับการดูแลและช่วยเหลือเพื่อให้เขาเหล่านั้นได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดี หากได้รับการดูแลอย่าง ถูกต้องและสม่ำเสมอแล้ว ก็น่าเชื่อว่าน่าจะมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน ได้อย่างยืนยาวในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้นจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือตัวผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่รวมอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ให้ได้มีความรู้ความเข้าใจในงานสาธารณสุขโดยเฉพาะเรื่องของการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพการฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย ชมรมแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านหนองธงร่วมกับ จิตอาสาที่ดูแลผู้สูงอายุ เห็นถึงความสำคัญของปัญหาต่างๆเหล่านี้จึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างระบบการดูแลรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อรองรับสถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่เน้นให้บริการรักษาตามแนวทางการแพทย์แผนไทยร่วมด้วย ดังนั้น ชมรมแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านหนองธง จึงได้จัดทำโครงการสูงวัยใส่ใจข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุข ประกอบด้วย กลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่า จำนวน 98 คน ที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดยจะจัดการอบรมจิตอาสาอาสาสมัครสาธารณสุข เรื่องการดูแลผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อหวังที่จะให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้น ของผู้สูงอายุได้อย่างดีและเหมาะสมเพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง ๒. ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย ๓. ผู้สูงอายุได้รับการแก้ไขปัญหาจากชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัยใส่ใจดูแลข้อเข่าเสื่อมโดยจิตอาสา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3344-2-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโศรดา แขกพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......