โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล ”
พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล
ที่อยู่ พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3066-01-12 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3066-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ด้วยวัคซีน โดยบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธารณสุขตามระบบปกติโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นโรคที่ค่อยๆ หายไปจากประเทศไทยเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนของระบบสาธารณสุข มากยิ่งขึ้น โดยความสำเร็จของวัคซีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ ๒ ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage) สูง และประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness) ดี อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนค่อนข้างสูงตั้งแต่ก่อนเริ่มมีเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่
จากสถานการณ์ข้อมูลผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี ในพื้นที่หมู่ 3 ,หมู่ 4 และหมู่ 5 ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563 - 2567 พบว่า ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 - 5 ปี ได้รับวัคซีนพื้นฐานไม่ครอบคลุมตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ คือ (เกณฑ์ร้อยละ 90)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาในพื้นที่พบว่า อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ สาเหตุมาจากผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ ทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ,หลังจากฉีดวัคซีนแล้วกลัวลูกไม่สบาย ,พ่อแม่ทำงานนอกพื้นที่ทำให้ปู่ย่าตายายต้องเลี้ยงดูลูกหลานพอถึงช่วงนัดฉีดวัคซีนต้องได้รับอนุญาติจากผู้ปกครองเด็กก่อน บางครอบครัวพ่อแม่ต้องพาลูกไปที่ทำงาน ทำให้ขาดการนัดฉีดวัคซีน การติดตามของเจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ติดตามยังไม่ต่อเนื่อง ติดตามเยี่ยมบ้านไม่พบผู้ปกครองเด็ก/ไม่อยู่บ้าน/เบอร์โทรติดต่อไม่ได้บ้าง สามีไม่ให้ฉีดบ้าง ฉีดแล้วกลัวลูกเดินไม่ได้บ้าง และเด็กเล็กอายุ 3-6 ปีพ่อแม่ส่งไปเรียนที่อื่นนอกพื้นที่ทำให้การติดตามไม่ต่อเนื่อง หากจะพาลูกมาฉีดวัคซีนที่ รพ.สต.ส่งผลทำให้เด็กต้องหยุดเรียน หลังจากผ่านสถานการณ์ช่วงโควิดที่ผ่านมาทำให้ผู้ปกครองเด็กมีความวิตกกังวลผลข้างเคียงของวัคซีน เป็นต้น ซึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖8ในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี เพื่อนำไปสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ สุขภาพดี เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของประเทศชาติต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน
- เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินการแก่เจ้าหน้าที่ และแกนนำ อสม.
- ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี เรื่องส่งเสริมการฉีดวัคซีนตามช่วงอายุ ประเมินภาวะซีดในเด็ก ประเมินพัฒนาการเด็ก ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
๒. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
๓. เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์อายุ
๔. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์อายุ เพิ่มขึ้นจากฐานเดิมร้อยละ 10
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินการแก่เจ้าหน้าที่ และแกนนำ อสม. (2) ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี เรื่องส่งเสริมการฉีดวัคซีนตามช่วงอายุ ประเมินภาวะซีดในเด็ก ประเมินพัฒนาการเด็ก ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3066-01-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล ”
พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข
กันยายน 2568
ที่อยู่ พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3066-01-12 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3066-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ด้วยวัคซีน โดยบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธารณสุขตามระบบปกติโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นโรคที่ค่อยๆ หายไปจากประเทศไทยเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนของระบบสาธารณสุข มากยิ่งขึ้น โดยความสำเร็จของวัคซีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ ๒ ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage) สูง และประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness) ดี อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนค่อนข้างสูงตั้งแต่ก่อนเริ่มมีเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่
จากสถานการณ์ข้อมูลผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี ในพื้นที่หมู่ 3 ,หมู่ 4 และหมู่ 5 ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563 - 2567 พบว่า ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 - 5 ปี ได้รับวัคซีนพื้นฐานไม่ครอบคลุมตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ คือ (เกณฑ์ร้อยละ 90)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาในพื้นที่พบว่า อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ สาเหตุมาจากผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ ทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ,หลังจากฉีดวัคซีนแล้วกลัวลูกไม่สบาย ,พ่อแม่ทำงานนอกพื้นที่ทำให้ปู่ย่าตายายต้องเลี้ยงดูลูกหลานพอถึงช่วงนัดฉีดวัคซีนต้องได้รับอนุญาติจากผู้ปกครองเด็กก่อน บางครอบครัวพ่อแม่ต้องพาลูกไปที่ทำงาน ทำให้ขาดการนัดฉีดวัคซีน การติดตามของเจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ติดตามยังไม่ต่อเนื่อง ติดตามเยี่ยมบ้านไม่พบผู้ปกครองเด็ก/ไม่อยู่บ้าน/เบอร์โทรติดต่อไม่ได้บ้าง สามีไม่ให้ฉีดบ้าง ฉีดแล้วกลัวลูกเดินไม่ได้บ้าง และเด็กเล็กอายุ 3-6 ปีพ่อแม่ส่งไปเรียนที่อื่นนอกพื้นที่ทำให้การติดตามไม่ต่อเนื่อง หากจะพาลูกมาฉีดวัคซีนที่ รพ.สต.ส่งผลทำให้เด็กต้องหยุดเรียน หลังจากผ่านสถานการณ์ช่วงโควิดที่ผ่านมาทำให้ผู้ปกครองเด็กมีความวิตกกังวลผลข้างเคียงของวัคซีน เป็นต้น ซึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖8ในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี เพื่อนำไปสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ สุขภาพดี เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของประเทศชาติต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน
- เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินการแก่เจ้าหน้าที่ และแกนนำ อสม.
- ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี เรื่องส่งเสริมการฉีดวัคซีนตามช่วงอายุ ประเมินภาวะซีดในเด็ก ประเมินพัฒนาการเด็ก ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
๒. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
๓. เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์อายุ
๔. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์อายุ เพิ่มขึ้นจากฐานเดิมร้อยละ 10 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคซีน (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินการแก่เจ้าหน้าที่ และแกนนำ อสม. (2) ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี เรื่องส่งเสริมการฉีดวัคซีนตามช่วงอายุ ประเมินภาวะซีดในเด็ก ประเมินพัฒนาการเด็ก ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการใส่ใจบุตรหลาน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในยุคดิจิตอล จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3066-01-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......