โครงการคนอุใดสุขภาพดีมีสุข หยัดได้ หมู่ที่ 5
ชื่อโครงการ | โครงการคนอุใดสุขภาพดีมีสุข หยัดได้ หมู่ที่ 5 |
รหัสโครงการ | 68-L5282-02-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 |
วันที่อนุมัติ | 5 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 16,250.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางฮารอบ๊ะ หนุนพ่อเด็น |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ม.5 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญ ที่มีผลต่อภาวะเศรฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ดังนั้นการสงเสริม ค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง การตรวจสอบสุขภาพอย่างง่าย เบื้องต้นเป็นเรื่องสำคัญ หากได้ปลูกฝังและสร้างเสริมพฤติกรรมและรู้ทันอาการที่ไม่พึงประสงค์ จะทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองคนรอบข้าง ตลอดจนแนวทางในการควบคุมป้องกันโรคที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของตนและประชาชนได้ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำ และสมาชิกสุขภาพชุมชน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่จำเป็นเบื่องต้น ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ให้ สามารถช่วยเหลือตนเองและสังคมได้ กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม) ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว และให้สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดในพื้นที่เช่น อาการstroke fast track (โรคหลอดเลือดในสมองตีบ-แตก-ตัน)โรคหัวใจขาดเลือด (Heart attack)รวมถึง โรคเบาหวานความดัน เป็นต้น จากการสำรวจข้อมูลสรุปตาม (TACNAP สสส) และการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ มีเคส ที่เกี่ยวกับอาการตามโรคข้างต้นต่อเดือนหลายเคสในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 10% จากสถิติจากปีที่ผ่านมา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและอาการของโรคเบื้องต้น ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพได้ง่าย ทั่วถึง |
0.00 | |
2 | เพื่อให้ประชาชนได้ตรวจสุขภาพอย่างง่ายได้ ลดอันตรายจากอัตราเสี่ยงจากโรค ที่มีอาการ เฉียบพลันได้อีกระดับหนึ่ง |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 40 | 16,250.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ การเฝ้าระวังและการช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรค | 40 | 16,250.00 | - | ||
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | ฝึกปฏิบัติวิธีการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินในการ ฟื้นคืนชีพผู้ป่วยโดยวิธีการ (CPR) และ การเคลื้อนย้ายผู้ป่วย | 0 | 0.00 | - | ||
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | ลงพื้นที่เฝ้าระวังคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป/ด้วยแบบสอบถาม/และการให้ความรู้ควบคู่กันไป | 0 | 0.00 | - | ||
1 - 30 ก.ย. 68 | ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | - |
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใส่ใจและคัดกรองสุขภาพตนเอง และคนรอบข้าง
- สามารถตรวจคัดกรอง สุขภาพและอาการเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว
- เข้าใจโรคและเกิดการปฏิบัติและดูแล และรักตัวเองมากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มิ.ย. 2568 14:30 น.