โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ |
รหัสโครงการ | 68-L3350-02-14 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านสวน |
วันที่อนุมัติ | 8 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 16,150.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางรัฐธิยา สุวรรณโชติ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านสวน |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคติดต่อต่างๆ โดยเฉพาะไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ สร้างความสูญเสียชีวิตค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันพบในประชาชนทุกกลุ่มอายุ กระทรวงสาธารณสุข และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้ดำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก มาอย่างต่อเนื่อง แต่สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปี ในปีงบประมาณ ๒๕๖๗ กระทรวงสาธารณสุข เห็นชอบและให้ความสำคัญกับนโยบาย “อำเอควบคุมเข็มแข็งแบบยั่งยืน” โดยใช้อำเภอเป็นจุดเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์ โดยกำหนดคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข็มแข็งแบบยั่งยืน ๕ ด้าน ประกอบด้วย ๑) มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ๒) มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี ๓) มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ๔) มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม ๕) มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันที่สำคัญ คุณลักษณะทั้ง ๕ ด้านนี้ ถือเป็นเครื่องมือที่จะบูรณาการดำเนินงานของภาครัฐภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชนรวมทั้งให้ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ได้เรียนรู้การวางแผนและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประมวลผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับเพื่อช่วยกันค้นหาและแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรคในระดับประชาชน ทั้งนี้การแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาสุขภาพในพรื้นที่ของตนเอง โดยหน่วยบริการและหน่วยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถใช้ข้อมูลข้อสนเทศที่เกี่ยวข้องประกอบการตัดสินใจวางแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคในระดับพื้นที่ รวมทั้งประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปีงบประมาณ ๒๕๖๘ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานจากตำบลสู่อำเภอป้องกันโรคเข็มแข็งแบบยั่งยืนให้มีประสิทธิภาพต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 16,150.00 | 0 | 0.00 | 16,150.00 | |
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ | 0 | 16,150.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 16,150.00 | 0 | 0.00 | 16,150.00 |
1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น
2) สามารถป้องกันและควบคุมและลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อได้มากขึ้น
3) แกนนำได้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มิ.ย. 2568 14:14 น.